คนชอบพระ
|
|
« ตอบ #15 เมื่อ: 27 ธันวาคม 2554, 14:39:04 » |
|
และในหนังสือเล่มนี้ ที่ผมวงสีแดงเอาไว้ คุณภักดีภูริบอกว่ารูปสมเด็จลุนนี้ได้มาจากหลวงปู่จันทร์หอม วัดบุ่งขี้เหล็ก
|
|
|
|
คนชอบพระ
|
|
« ตอบ #16 เมื่อ: 27 ธันวาคม 2554, 14:40:32 » |
|
ผมก็ไม่เคยปักใจเชื่อว่ารูปภาพไหนคือ ภาพสมเด็จลุน หลักฐานที่เอามาลงให้ทราบนี้ก็เพื่อให้เป็นข้อมูลแด่ทุกๆท่าน เอาไปสืบค้น อ้างอิง
|
|
|
|
คนชอบพระ
|
|
« ตอบ #17 เมื่อ: 27 ธันวาคม 2554, 16:01:34 » |
|
จากบทความของอำพล เจน หลวงปู่พรหมา บอกว่า สมเด็จลุน หน้าละม้ายคล้ายกับหลวงปู่นาค วัดป่าใหญ่ ผมเลยลองเอาใบหน้ามาเทียบกันให้ดู แต่ผมไม่ขอฟันธงนะครับ
|
.
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 16 พฤษภาคม 2555, 17:46:51 โดย คนชอบพระ »
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Pruedthachon
|
|
« ตอบ #18 เมื่อ: 29 เมษายน 2555, 10:40:16 » |
|
รูปนี้เป็นรูปที่ลูกศิษย์นำมาถวายวัดนาอุดมในภายหลังครับ ...
|
|
|
|
Pruedthachon
|
|
« ตอบ #19 เมื่อ: 29 เมษายน 2555, 11:02:20 » |
|
ผมได้มีีโอกาสไป สปป.ลาว กับหลวงปู่อ่อง ฐิตธมฺโม แล้วเจ้าอาวาสวัดเวินไซ ได้มอบ 2 สิ่งให้กับผม 1. รูปสำเร็จลุน 2. ใบโพธิ์รูปสำเร็จลุน 3. ผมได้ถ่ายรูปเหมือนสำเร็จลุน ที่ตั้งอยู่หน้าพระธาตุที่บรรจุอัฐิธาตุสำเร็จลุน ที่วัดโพธิ์ไชยยาราม แขวงจำปาศักดิ์ สปป.ลาว ... ลองพิจารณาดูครับ ...
|
|
|
|
เต้ อุบล
|
|
« ตอบ #20 เมื่อ: 29 เมษายน 2555, 17:16:50 » |
|
รูปนี้เป็นรูปที่ลูกศิษย์นำมาถวายวัดนาอุดมในภายหลังครับ ...
ความคิดเห็นส่วนตัวนะครับ พัดยศทรงหยดน้ำในลาวไม่น่าจะมีนะครับ พัดยศตราช้างเผือกก็น่าจะไม่มีในลาวนะครับ นาฬิกาก็น่าจะเป็นช่วงรัชการที่5ครับ ความคิดเห็นส่วนตัวนะครับ ถูก-ผิด ขออภัยครับ
|
|
|
|
คนโก้
|
|
« ตอบ #21 เมื่อ: 30 เมษายน 2555, 15:17:12 » |
|
- อย่าลืมครับว่า ไทยเสียดินแดนจำปาสักให้กับฝรั่งเศษ เมื่อ ๑๒ พ.ค. ๒๔๔๖ (รศ.๑๒๒) ในสมัยรัชกาลที่ ๕ - สำเร็จลุน ชาตะ ๒๓๙๖ มรณะ ๒๔๖๖ สิริอายุรวม ๗๐ ปี - เมื่อครั้งไทยเสียดินแดนจำปาสัก สำเร็จลุนน่าจะมีอายุประมาณ ๕๐ ปีแล้ว - แสดงว่าเมื่อท่านอายุเยาว์ จนถึง ๕๐ ปีนั้น ท่านจะจำพรรษาที่ใดบ้างไม่ทราบ แต่จำปาสักขึ้นกับประเทศไทย ผิดถูกอย่างไรช่วยกันปรับปรุงครับ
|
"ขุนผู้หาญคองเมืองจั่งเฮืองฮุ่ง ขุนขี้ย่านคองบ้านบ่ฮุ่งเฮือง"
|
|
|
เต้ อุบล
|
|
« ตอบ #22 เมื่อ: 30 เมษายน 2555, 15:27:02 » |
|
ตอนนี้ได้ข้อมูลมาอ้างอิงอีกนิดหน่อยครับพัดไอยราพตพัดรองงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พุทธศักราช 2416 พื้นแพรปักไหมสีรูปพระเกี้ยว ประดิษฐานบนพานแว่นฟ้าเหนือรูปอาร์มตราไอยราพตพัดรองที่ระลึกงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พัดรองที่ระลึกนี้ ทำขึ้นเป็นที่ระลึกในงานพระราชพิธีบรมราชภิเษก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ. 2416 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ถวายพัดรองแด่สมเด็จพระราชาคณะ และพระราชาคณะ พัดรองนี้ชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "พัดไอราพต" (ช้างสามเศียร) จัดเป็นพัดรองที่เก่าแก่ที่สุดของเมืองไทย และเป็นพัดที่มีการตกแต่งด้วยการปักไหมเป็นครั้งแรก โดยสั่งปักมาจากเมืองจีน ทั้งนี้พระองค์มีความเห็นว่าช่างไทยมีความชำนาญ ในการปักดิ้นได้งามกว่าชาติอื่น แต่ไม่ชำนาญในการปักไหมเหมือนชาติจีน ภายหลังจึงมีการหัดปักไหมขึ้นจนมีความชำนาญ ความสยวงามของพัดนี้อยู่ที่ลวดลายในการปัก และการใช้ไหมสีที่ดูเด่นสะดุดตา งดงามสมพระเกียรติยิ่งนัก ปักลายพานแว่นฟ้า ซึ่งประดิษฐานพระจุลมงกุฎ ใต้ลงมาเป็นช้างสามเศียรขนาบด้วยราชสีห์และคชสีห์ รอบขอบพัดปักลายช่อดอกไม้อันอ่อนช้อย ส่วนนมพัดทำด้วยงา สลักเป็นรูปกลีบบัว และแกะลายพระราชลัญจกรประจำรัชกาลที่ 5 ด้ามพัดทำด้วยงา ขอบคุณข้อมูลจาก http://www.baanjomyut.com/library/calendar/talapat/index.html
|
|
|
|
vs12
|
|
« ตอบ #23 เมื่อ: 01 พฤษภาคม 2555, 14:53:30 » |
|
ดูกันเล่นๆครับ
|
|
|
|
บ่หัวซาผีบ้าเดินดิน
|
|
« ตอบ #24 เมื่อ: 01 พฤษภาคม 2555, 15:20:16 » |
|
ช่วยขยายความหน่อยครับรูปด้านขวามือนี้มีที่มาอย่างไรครับ
|
.
|
|
บันทึกการเข้า
|
ราคาพระคือการอุปทานหมู่ของมนุษย์ ศรัทธาต่างหากที่จะอยู่คู่กับเราตลอดไป
|
|
|
คนโก้
|
|
« ตอบ #25 เมื่อ: 01 พฤษภาคม 2555, 15:55:55 » |
|
พัดรองด้านขวามือของพระคล้ายพัดไอยราพรตมากครับ แต่สำหรับพัดยศแฉกทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ด้านซ้ายมือของท่านคงไม่สามารถแยกแยะได้เพราะพัดยศทรงนี้จะมีลักษณะคล้ายกันมาก - ภาพนี้ก็สามารถสรุปได้ว่าถ่ายไว้ตั้งแต่ช่วงรัชกาลที่ ๕ เป็นต้นมา
|
"ขุนผู้หาญคองเมืองจั่งเฮืองฮุ่ง ขุนขี้ย่านคองบ้านบ่ฮุ่งเฮือง"
|
|
|
vs12
|
|
« ตอบ #26 เมื่อ: 01 พฤษภาคม 2555, 16:01:36 » |
|
จากรูปหลวงปู่สำเร็จลุน รูปหยดน้ำเป็นพัดยศสมณศักดิ์ พระราชาคณะชั้นสมเด็จ ซึ่งจากรูปสมเด็จพระสังฆราช หรือพระราชาคณะชั้นรองลงไป จะวางด้านขวามือตามรูป
|
uthai08
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 01 พฤษภาคม 2555, 16:13:15 โดย vs12 »
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
vs12
|
|
« ตอบ #27 เมื่อ: 01 พฤษภาคม 2555, 16:04:08 » |
|
ถ้ามี 2 ข้างน่าจะวางตามรูปนี้
|
uthai08
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 01 พฤษภาคม 2555, 16:14:00 โดย vs12 »
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
เต้ อุบล
|
|
« ตอบ #28 เมื่อ: 01 พฤษภาคม 2555, 16:10:36 » |
|
พัดรองด้านขวามือของพระคล้ายพัดไอยราพรตมากครับ แต่สำหรับพัดยศแฉกทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ด้านซ้ายมือของท่านคงไม่สามารถแยกแยะได้เพราะพัดยศทรงนี้จะมีลักษณะคล้ายกันมาก - ภาพนี้ก็สามารถสรุปได้ว่าถ่ายไว้ตั้งแต่ช่วงรัชกาลที่ ๕ เป็นต้นมา
พัดรองนี้ ไอยราพต แน่นอนครับ
|
.
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
vs12
|
|
« ตอบ #29 เมื่อ: 01 พฤษภาคม 2555, 16:27:22 » |
|
ความเห็นส่วนตัวนะครับ ผมว่ารูปซ้ายมือเป็นรูปวาดขึ้นมา และรูปขวามือคือรูปต้นแบบครับ
|
.
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|