เหรียญรุ่นแรกหลวงปู่คำบุ ธัมมธโร วัดสันติวนาราม บ้านเหล่าขวาว จ.อำนาจเจริญ ปี 25 ฉลองอายุคร ?>
ชมรมอนุรักษ์พุทธศิลป์แห่งภาคอีสาน
The Buddhist Art Conservation Club Of Esan (North Eastern Part Of Thailand)
24 เมษายน 2567, 13:41:25 *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  

กติกาในการ เช่า-แลกเปลี่ยนพระเครื่อง | พระเครื่องเมืองอุบลราชธานี | แจ้งปัญหาการใช้งาน
แจ้งเรื่องการยืนยันตัวตนสำหรับผู้ที่จะให้เช่าพระเครื่องฯ | วิธีสมัครสมาชิกเว็บ

หน้า: [1]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: เหรียญรุ่นแรกหลวงปู่คำบุ ธัมมธโร วัดสันติวนาราม บ้านเหล่าขวาว จ.อำนาจเจริญ ปี 25 ฉลองอายุคร  (อ่าน 18862 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
คมขวาน
VIP Member
*****

พลังน้ำใจ : 74
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 35

Level and Hp mod by the DtTvB :: version 1.02 :: Made for Zone-IT.com Level 4 : Exp 79%
HP: 0%



ดูรายละเอียด อีเมล์
« เมื่อ: 19 ธันวาคม 2554, 15:22:04 »

ครูบาอาจารย์สายพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต หลวงปู่ขาว อนาลโยวัดถ้ำกองเพล สหมิกธรรมพระอาจารย์จวน กุลเชฏโฐและจำพรรษาร่วมกันที่ภูวัวตามที่พระอาจารย์มั่นแนะนำ พระอาจารย์วัน อุตตโม พระอาจารย์สิงฆ์ทอง วัดประชาชุมพล ร่วมกับพระอาจารย์จวน สร้างวัดภูทอก ร่วมกับพระอาจารย์วัน สร้างวัดอภัยดำรงธรรม  เป็นพระอาจารย์สอนกรรมฐานหลวงปู่สรวง วัดถ้ำพรมสวัสดิ์ ลพบุรี ท่านเป็นพระเถระชั้นผู้ใหญ่ที่มีผู้ความเคารพศรัทธาในศีลจริยวัตรท่านทั่วประเทศมีเรื่องเราจากคนเฒ่าคนแก่ว่าสมัยก่อนเข้าไปลาสัตว์ภายในวัด ปืนยิงสัตว์ป่า กระรอก กระแต ไม่ออก เมื่อเดินออกจากเขตวัดลองยิ่งจึงออก บางคนเข้าไปยิงเห็นไม่มีใคร พอยิงแล้วกลับเห็นหลวงปู่ยืนอยู่ตรงหน้าแล้วถามว่าเขตอภัยทานยังมายิงมันยุเนาะ นี้ก็เป็นเรื่องน่าแปลก ซึ่งคนในแถบนั้นรู้ดีคับ จนไม่มีใครกล้าที่จะเข้าไปล่าสัตว์ภายในเขตวัดของท่านอีก เพราะเกรงใจในบาระมีของท่าน มีเรื่องเล่าว่าเหรียญรุ่นนี้วันที่ท่านอธิฐานจิตบนศาลา เกิดสิ่งอัศจรรย์ขึ้นคือ ต้นไม้ ใบไม้ภายในวัดรอบศาลาเกิดเป็นแสงสีทองสว่างไสว จนชาวบ้านรุมกันแย่งเหรียญกัน จนเกิดการทะเลาะวิวาทชกต่อยกันขึ้นเพราะกลัวหมดเสียก่อน จนท่านนำเหรียญส่วนหนึ่งโยนทิ้งลงสระเก็บน้ำหมู่บ้านข้างวัดของท่าน
วันหน้าจะเอาประวัติท่านมาลงให้ฟังอีกนะครับ ยังหาไม่เจอ เป็นประวัติทีหลวงปู่บุญมา คัมภีรธัมโม วัดป่าสีห์พนม  เรียบเรียงไว้เนื่องในงานศพท่าน ซึ่งมีพระเถระฝ่ายวิปัสนามาอย่างมากมาย






บันทึกการเข้า
บ่หัวซาผีบ้าเดินดิน
ยิ้มเย้ยยุทธจักร
Administrator
*****

พลังน้ำใจ : 1197
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1328

Level and Hp mod by the DtTvB :: version 1.02 :: Made for Zone-IT.com Level 29 : Exp 61%
HP: 0.1%



จงเป็นดั่งผีบ้าแล้วท่านจะปราศจากความทุกข์

ubonbc@hotmail.com
ดูรายละเอียด อีเมล์
« ตอบ #1 เมื่อ: 19 ธันวาคม 2554, 21:13:27 »

พ่อแม่ครูบาอาจารย์สายหลวงปู่มั่นที่ถูกลืมมาช้านานครับ ขอบคุณครับพี่คมขวาน ขอร่วมเชิดชูเกียรติคุณพ่อแม่ครูบาอาจารย์คำบุครับ 

บันทึกการเข้า

ราคาพระคือการอุปทานหมู่ของมนุษย์ ศรัทธาต่างหากที่จะอยู่คู่กับเราตลอดไป
MaiUbon
Sr. Member
****

พลังน้ำใจ : 224
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 510

Level and Hp mod by the DtTvB :: version 1.02 :: Made for Zone-IT.com Level 18 : Exp 30%
HP: 0%




ดูรายละเอียด อีเมล์
« ตอบ #2 เมื่อ: 19 ธันวาคม 2554, 23:29:16 »

รอรับฟังประวัติพ่อแม่ครูบาอาจารย์ครับ 

บันทึกการเข้า
คนโก้
Global Moderator
*****

พลังน้ำใจ : 687
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 678

Level and Hp mod by the DtTvB :: version 1.02 :: Made for Zone-IT.com Level 21 : Exp 12%
HP: 0%



"ทางไปสวรรค์มันฮก ทางไปนรกมันแปน"

ego-2519@hotmail.com
ดูรายละเอียด
« ตอบ #3 เมื่อ: 20 ธันวาคม 2554, 06:53:03 »

เป็นกำลังใจให้ครับ..อย่าลืมมาเล่าต่อนะพี่คมขวาน 

บันทึกการเข้า

"ขุนผู้หาญคองเมืองจั่งเฮืองฮุ่ง  ขุนขี้ย่านคองบ้านบ่ฮุ่งเฮือง"
คมขวาน
VIP Member
*****

พลังน้ำใจ : 74
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 35

Level and Hp mod by the DtTvB :: version 1.02 :: Made for Zone-IT.com Level 4 : Exp 79%
HP: 0%



ดูรายละเอียด อีเมล์
« ตอบ #4 เมื่อ: 20 ธันวาคม 2554, 13:24:31 »

ครูบาอาจารย์สายพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต หลวงปู่ขาว อนาลโยวัดถ้ำกองเพล สหมิกธรรมพระอาจารย์จวน กุลเชฏโฐและจำพรรษาร่วมกันที่ภูวัวตามที่พระอาจารย์มั่นแนะนำ พระอาจารย์วัน อุตตโม พระอาจารย์สิงฆ์ทอง วัดประชาชุมพล ร่วมกับพระอาจารย์จวน สร้างวัดภูทอก ร่วมกับพระอาจารย์วัน สร้างวัดอภัยดำรงธรรม  เป็นพระอาจารย์สอนกรรมฐานหลวงปู่สรวง วัดถ้ำพรมสวัสดิ์ ลพบุรี ท่านเป็นพระเถระชั้นผู้ใหญ่ที่มีผู้ความเคารพศรัทธาในศีลจริยวัตรท่านทั่วประเทศมีเรื่องเราจากคนเฒ่าคนแก่ว่าสมัยก่อนเข้าไปลาสัตว์ภายในวัด ปืนยิงสัตว์ป่า กระรอก กระแต ไม่ออก เมื่อเดินออกจากเขตวัดลองยิ่งจึงออก บางคนเข้าไปยิงเห็นไม่มีใคร พอยิงแล้วกลับเห็นหลวงปู่ยืนอยู่ตรงหน้าแล้วถามว่าเขตอภัยทานยังมายิงมันยุเนาะ นี้ก็เป็นเรื่องน่าแปลก ซึ่งคนในแถบนั้นรู้ดีคับ จนไม่มีใครกล้าที่จะเข้าไปล่าสัตว์ภายในเขตวัดของท่านอีก เพราะเกรงใจในบาระมีของท่าน มีเรื่องเล่าว่าเหรียญรุ่นนี้วันที่ท่านอธิฐานจิตบนศาลา เกิดสิ่งอัศจรรย์ขึ้นคือ ต้นไม้ ใบไม้ภายในวัดรอบศาลาเกิดเป็นแสงสีทองสว่างไสว จนชาวบ้านรุมกันแย่งเหรียญกัน จนเกิดการทะเลาะวิวาทชกต่อยกันขึ้นเพราะกลัวหมดเสียก่อน จนท่านนำเหรียญส่วนหนึ่งโยนทิ้งลงสระเก็บน้ำหมู่บ้านข้างวัดของท่าน
วันหน้าจะเอาประวัติท่านมาลงให้ฟังอีกนะครับ ยังหาไม่เจอ เป็นประวัติทีหลวงปู่บุญมา คัมภีรธัมโม วัดป่าสีห์พนม  เรียบเรียงไว้เนื่องในงานศพท่าน ซึ่งมีพระเถระฝ่ายวิปัสนามาอย่างมากมาย







หลวงปู่สรวง
ต้องการศึกษาในด้านกัมมัฎฐานในปีพ.ศ.2500จึงได้เดินทางกลับอุบลราชธานี และได้มีโอกาสเจอกับพระอาจารย์คำบุ ธัมมธโร ศิษย์ในหลวงปู่มั่น  ภูริทัตโต จากนั้นพระอาจารย์คำบุ ได้เทศนาพร่ำสอนจนเกิดความเลื่อมใสในการปฏิบัติกัมมัฏฐานและได้พาธุดงค์ขึ้นไปหาพระอาจารย์จวน กุลเชฎฺโฐ ที่สำนักสงฆ์ถ้ำจันทร์ จังหวัดหนองคาย ได้เรียนวิชายันต์เกราะเพชร และปรอทปราบหงส์สา จากพระอาจารย์จวน ซึ่งท่านได้รับถ่ายทอดมาจากหลวงปู่มั่น ภายหลังได้ญัติเป็นพระสงฆ์ฝ่ายธรรมยุตในปีพ.ศ.2502 เพื่อศึกษาด้านจิตภาวนาวิปัสสนากัมมัฎฐานโดยมี พระครูพุฒิวราคม ศิษย์หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต เป็นพระอุปัชฌาย์ ที่พระอุโบสถวัดประชานิยม ตำบลคล้อใต้ อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนครในปีนั้น หลังจากอุปสมบทแล้วได้จาริกธุดงค์ไปจำพรรษากับหลวงปู่ขาว อนาลโย วัดถ้ำกลองเพล  หลวงปู่ฝั้น อาจาโร  และหลวงปู่คำบุ  ธัมมธโร พ.ศ.2509 ถึง 2513 ได้จาริกธุดงค์ไปกับพระอาจารย์จวน  พระอาจารย์คำบุ เพื่อสร้างสำนักสงฆ์ภูทอกดังที่ได้เห็นในปัจจุบัน พ.ศ.2518 ได้จาริกธุดงค์ไปกับพระอาจารย์คำบุ  ธัมมธโร  เพื่อสร้างสำนักสงฆ์สันติวนาราม จังหวัดอุบลราชธานี (ปัจจุบันเป็นจังหวัดอำนาจเจริญ) พ.ศ.2524 ได้อำลาพระอาจารย์คำบุ

บันทึกการเข้า
หน้า: [1]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.19 | SMF © 2006-2009, Simple Machines Valid XHTML 1.0! Valid CSS!