?>
ชมรมอนุรักษ์พุทธศิลป์แห่งภาคอีสาน
The Buddhist Art Conservation Club Of Esan (North Eastern Part Of Thailand)
27 เมษายน 2567, 04:35:13 *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
  หน้าแรก ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  

กติกาในการ เช่า-แลกเปลี่ยนพระเครื่อง | พระเครื่องเมืองอุบลราชธานี | แจ้งปัญหาการใช้งาน
แจ้งเรื่องการยืนยันตัวตนสำหรับผู้ที่จะให้เช่าพระเครื่องฯ | วิธีสมัครสมาชิกเว็บ

  แสดงกระทู้
หน้า: 1 [2] 3 4 ... 14
16  ห้องพระ / พระคณาจารย์อริยสงฆ์ทั่วประเทศ / Re: ประวัติ พระอาจารย์สมศักดิ์ อุตฺตโม(ญาถ่านเบิ้ม)วัดวังม่วง อ.เขมราฐ จ.อุบลราชธานี เมื่อ: 02 มีนาคม 2566, 19:44:33
เสาหลักสายธรรมอุตฺตโมบารมี (สายอุตฺตมะอุตฺตโม)
ที่ครูธรรมศึกษาเล่าเรียนความรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านสามัคคีการรักไคร่พี่น้องครูธรรม

องค์ที่ 1 ญาถ่านเบิ้ม อุตฺตโม บรมครูใหญ่ ผู้สืบทอดรุ่นที่ 3
องค์ที่ 2 ญาถ่านยักษ์ โคษะกะ
องค์ที่ 3 ญาถ่านวิเชียร อนุตฺตโร
องค์ที่ 4 พระอาจารย์คณิน สุนฺทโร
17  ห้องพระ / พระคณาจารย์อริยสงฆ์ทั่วประเทศ / Re: ประวัติ พระอาจารย์สมศักดิ์ อุตฺตโม(ญาถ่านเบิ้ม)วัดวังม่วง อ.เขมราฐ จ.อุบลราชธานี เมื่อ: 18 มกราคม 2566, 15:55:57
1.สีผึ้งมหาเสน่ห์ หลวงปู่หงษ์ พรหมปัญโญ (วัดเพชรบุรี) จ.สุรินทร์
2.สีผึ้งหลวงพ่อทาบ วัดกระบกขึ้นผึ้ง บ้านค่าย จ.ระยอง
3.สีผึ้งมหาเสน่ห์ หลวงพ่อกวย ชุตินธโร วัดโฆสิตาราม จ.ชัยนาท
4.สีผึ้งหลวงพ่อจง พุทธัสสโร วัดหน้าต่างนอก จ.อยุธยา
5.สีผึ้งผีหุงหลวงปู่ทิม อิสริโก  วัดละหารไร่ จ.ระยอง
6.สีผึ้งครูบากฤษณะ อินทวัณโณ วัดป่ามหาวัน จ.นครราชสีมา
7.สีผึ้งมหาเสน่ห์ หลวงพ่อพัฒน์ ปุญญกาโม วัดห้วยด้วย จ.นครสวรรค์
8.สีผึ้งหลวงปู่สุข ธรรมโชโต วัดโพธิ์ทรายทอง จังหวัดบุรีรัมย์
9.สีผึ้งหลวงพ่อเดิม พุทธสโร วัดหนองโพธิ์ จ. นครสวรรค์
10.สีผึ้งหลวงปู่หน่าย อินทสีโล วัดบ้านแจ้ง บางปะหัน จ.อยุธยา
11.สีผึ้งนางแย้ม มหาเสน่ห์ หลวงพ่อพิมพ์ ผลปุญโญ วัดพฤกษะวัน จ.พิจิตร
12.สีผึ้งหลวงปู่หมุน ฐิตสีโลวัดบ้านจาน อ.กันทรารมย์ จ.ศรีสะเกษ
13.สีผึ้งหลวงปู่รอด อาภัสสโร วัดโคกกรม อ.พนมดงรัก จ.สุรินทร์
14.สีผึ้งหลวงปู่สรวง เทวดาเดินดิน อ.ภูสิงห์ จ.ศรีสะเกษ
15.สีผึ้งนารายณ์กลืนจิต หลวงปู่ญาท่านสวน ฉันทโร วัดนาอุดม จ.อุบล
16.สีผึ้งญาท่านเภา จันทธัมโม วัดบ้านเวิน อ.โพนพิสัย จ.หนองคาย
17.สีผึ้งหลวงปู่ป้อง สีวิไล วัดบ้านนากุง เมืองปากงึ่ม สปป.ลาว
18.สีผึ้งหลวงพ่อปาน โสนนฺโท วัดบางนมโค จ.อยุธยา
19.สีผึ้งแมงมุมดักทรัพย์ หลวงปู่สุภา กันตสีโล วัดสีลสุภาราม จ.สกลนคร
20.สีผึ้งพระลักษณ์หน้าทอง ลป.กาหลง เตชวัณโณ วัดเขาแหลม จ.สระแก้ว
21.สีผึ้งมหาเสน่ห์ หลวงปู่ฤทธิ์ รัตนโชโต วัดชลประทานราชดำริ จ.บุรีรัมย์
22.สีผึ้งกาจับหลัก หลวงปู่ชื่น ติคญาโณ วัดตาอี จ.บุรีรัมย์
23.สีผึ้งหลวงปู่ดู่ พฺรหฺมปญฺโญ วัดสะแก จ.พระนครศรีอยุธยา
24.สีผึ้งหลวงปู่จอม นาคเสโน วัดบ้านดอนดู่ จ.อำนาจเจริญ
25.สีผึ้งหลวงปู่ทา นาควัณโณ วัดศรีสว่างนาราม อ.โพธิ์ไทร จ.อุบลราชธานี
26.สีผึ้งญาถ่านเบิ้ม อุตฺตโม วัดวังม่วง อ.เขมราฐ จ.อุบลราชธานี
27.สีผึ้งญาถ่านเพชร ฐานธัมโม วัดสิงห์ทอง จังหวัดอุบลราชธานี
28.สีผึ้งหลวงปู่อาจ อชิโต วัดภูบะปัง  อ.น้ำยืน จ.อุบลราชธานี
29.สีผึ้งมงคลมหานิยม หลวงพ่อบุญเรือง สารโท วัดพิชโสภาราม จ.อุบล
30.สีผึ้ง หลวงพ่อเดิม พุทฺธสโร วัดหนองโพ จ.นครสวรรค์
31.สีผึ้งจักรพรรดิมหาลาภ ขี้หอมลป.สี วัดเขาถ้ำบุญนาค (เท่ากำปั้นมือ)
32.สีผึ้ง 100 ปี หลวงปู่บุดดา วัดกลางชูศรีเจริญสุข
33.สีผึ้งหลวงปู่พิศดู วัดเทพธารทอง
34.สีผึ้งหลวงพ่อฤาษีลิงดำสมัยท่านยังมีชีวิต
35.สีผึ้งหลวงพ่อแก้ว วัดละหารไร่
36.สีผึ้งลป.ยิ้ม วัดหนองบัว
37.สีผึ้งหลวงพ่อเคลือบ วัดหนองกระดี่
38.สีผึ้งหลวงพ่อจรัญ วัดอัมพวัน อธิษฐานจิต
39.สีผึ้งครูบาคำเป็ง สำนักสงฆ์มะค่างาม กำแพงเพชร
40.สีผึ้งทิพย์มหานิยม ลป.จำเนียร วัดถ้ำเสิอ
41.สีผึ้งพญาหงส์ทอง ลพ.ถาวร วัดปทุมวนาราม
42.สีผึ้งหลวงปู่คำบุ วัดกุดชมภู
43.สีผึ้งลพ.เกาะ วัดท่าสมอ
44.สีผึ้งลป.ธีร์ วัดลำยอง บุรีรัมย์
45.สีผึ้งลพ.พรหม วัดขนอนเหนือ
46.สีผึ้งลป.แย้ม วัดตะเคียน นนทบุรี
47.สีผึ้งลพ.เสี้ยน วัดมะนาวหวาน
48.สีผึ้งหลวงปู่พวง ฐานวโร วัดน้ำพุ เพชรบูรณ์
49.สีผึ้งหลวงพ่อจ้อย วัดศรีอุทุมพร
50.สีผึ้งลป.เย็น วัดสระเปรียญ
51.สีผึ้งพระอาจารย์ศรีเงิน วัดดอนศาลา พัทลุง
52.สีผึ้งลพ.มี วัดมารวิชัย
53.สีผึ้งลป.ปรง วัดธรรมเจดีย์
54.สีผึ้งลพ.ดำ วัดใหม่ นราธิวาส
55.สีผึ้งลป.เรือง วัดเขาสามยอด
56.สีผึ้งลพ.วิชัย วัดถ้ำผาจม
57.สีผึ้งหลวงปู่เฮ็น วัดดอนแสง
58.สีผึ้้งลป.เริ่ม วัดจุกกะเชอ
59.สีผึ้งรวมเจ้าคุณเสงี่ยม วัดสุวรรณเจดีย์
60.สีผึ้ง 3 สี อาจารย์ประคอง รุ่นเจริญ
61.สีผึ้งลป.โลกเอ๊าะบายกรีม (ข้าวแห้ง) วัดบ้านตาปัน
62.สีผึ้ง 1000 วัด ลพ.เกษมสุข วัดประดู่ธรรมาธิปัตย์
63.สีผึ้งลพ.แสวง วัดสว่างภพ
64.สีผึ้งลพ.ทองหยิบ วัดบ้านกลาง
65.สีผึ้งลป.คำพัน
66.สีผึ้งหลวงพ่ออุตตมะ วัดวังก์วิเวการาม
67.สีผึ้งสมเด็จเกี่ยวอธิษฐานจิต
68.สีผึ้งลป.ทิม วัดพระขาว
69.สีผึ้งลพ.ฉาบ วัดศรีสาคร
70.สีผึ้งหลวงพ่อเอก วัดเขาแร่
71.สีผึ้งหลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ วัดบ้านไร่
72.สีผึ้งหลวงพ่อนวล วัดไสหร้า
73.สีผึ้งหลวงพ่อเฉลิม วัดพระญาติ
74.สีผึ้งหลวงพ่อเพี่ยน วัดเกริ่นกฐิน
75.สีผึ้งหลวงปู่มหาโส วัดขอนแก่น
76.สีผึ้งลพ.เอียด วัดไผ่ล้อม
77.สีผึ้งลพ.ต้วน
78.สีผึ้งลพ.ตุ่น
79.สีผึ้งหลวงปู่จันทร์หอม สุภาทโร วัดบุ่งขี้เหล็ก อ.เขมราฐ จ.อุบลราชธานี
80.ตลับสีผึ้งไก่ป่า ครูบาต๋า วัดบ้านเหล่า
81.สีผึ้ง ม้าเสพนาง ครูบาวัง วัดบ้านเด่น จ.ตาก
82.สีผึ้งฝังตะกรุดสาริกา หลวงพ่อพูน วัดบ้านแพน จังหวัดอยุธยา
83.สีผึ้งวัดพระอาจารย์ขวัญ วัดทับยายเชียง
84.สีผึ้งผยองคำ ครูบาวัดไม้ฮุง จ.แม่ฮ่องสอน
85.สีผึ้งเมตตามหานิยม หลวงพ่อเปิ่น จ.นครปฐม
86.ตลับสีผึ้ง งาแกะ หลวงพ่อกัน วัดเขาแก้ว จ.นครสวรรค์
87.สีผึ้งสาริกาคู่  หลวงตาเณร สุสานโบราณ จ.ศรีสระเกษ
88.สีผึ้งเมตตา หลวงพ่อแดง สิริภทฺโท วัดห้วยฉลองราษฎร์บำรุง จ.อุตรดิตถ์
89.สีผึ้งพระอาจารย์โอ พุทธสถานวิหารพระธรรมราช จ.เพชรบูรณ์
90.สีผึ้งแม่หม่อมกวัก พระอาจารย์ประสูติ วัดในเตา จังหวัดตรัง
91.สีผึ้ง หลวงพ่อมุ่ย วัดดอนไร่ จ.สุพรรณบุรี
92.สีผึ้งพรายตานี หลวงพ่อสมชาย วัดด่านเกวียน จ.นครราชสีมา
93.สีผึ้งนกสาลิกา หลวงพ่อกวย วัดโฆสิตาราม(วัดบ้านแค) จ.ชัยนาท
94.สีผึ้งสาวหลง หลวงพ่ออาคม วัดทุ่งพระ จังหวัดสงขลา
95.สีผึ้งเมตตา หลวงปู่ขุ้ย วัดซับตะเคียน จังหวัดเพชรบูรณ์
96.สีผึ้งว่านสาวหลง หลวงปู่เมียน วัดบ้านจะเนียง จังหวัดบุรีรัมย์
97.สีผึ้ง หลวงปู่น่วม วัดโพธิ์ศรี จังหวัดสุพรรณบุรี
98.สีผึ้งอาถรรพณ์ หลวงพ่อปุ่น วัดป่าบ้านสังข์ จ.ร้อยเอ็ด
99.สีผึ้ง เมตตามหาบารมี หลวงปู่แผ้ว ปวโร จ.นครปฐม
100.สีผึ้งมหาเสน่ห์แม่เถาหลง หลวงพ่อบุญส่ง วัดดระโจม จ.สิงห์บุรี
101.สีผึ้งมหานิยม พ่อท่านหีต วัดเผียน จังหวัดนครศรีธรรมราช
102.สีผึ้งว่านดอกทอง  หลวงปู่ลุน วัดโพนแพง อ.ภูเวียง จ.ขอนแก่น
103.สีผึ้งเสือสมิงใหญ่ พระอาจารย์โอพุทธรักษา จังหวัดเพชรบูรณ์
104.สีผึ้งจันทร์เพ็ญ หลวงพ่อนัส วัดอ่าวใหญ่ จ.ตราด
105.สีผึ้งดำ หลวงตาช้วน วัดขวาง จ.สุพรรณบุรี
106.สีผึ้งเสน่ห์นางแดง หลวงพ่อไพโรจน์ วัดโคกพระ สิงห์บุรี
107.สีผึ้ง หลวงปู่ครูบาสร้อย วัดมงคลคีรีเขตต์ จ.ตาก
108.สีผึ้งมหาเสน่ห์มหาโชคลาภ  หลวงพ่อพยุงค์ วัดป่าสัก จ.สระบุรี
18  ห้องพระ / พระคณาจารย์อริยสงฆ์ทั่วประเทศ / Re: ประวัติ พระอาจารย์สมศักดิ์ อุตฺตโม(ญาถ่านเบิ้ม)วัดวังม่วง อ.เขมราฐ จ.อุบลราชธานี เมื่อ: 14 ธันวาคม 2565, 14:55:12
ยันต์มหาอำนาจพญาไกรสรราชสีห์
จัดสร้างจำนวน 19 ดอก
ทุกดอกจะตอกโค้ดกำกับรันเลขทุกดอก ในนามญาถ่านเบิ้ม อุตฺตโม บรมครูใหญ่สายธรรมอุตฺตโมบารมี ผู้สืบทอดรุ่นที่ 3 ศิษย์บูรพาจารย์สำเร็ลุน
วัถตุประสงค์ในการจัดสร้าง โดยมอบเป็นของชำร่วยให้แก่คณะครูธรรม เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจในการทำงาน ในทางด้านจิตใจของผู้ปฏิบัติ
...สร้างจากหนัง ส.โคร่ง จารอักขระเลขยันต์โบราณ ยันต์มหาอำนาจพญาไกรสรราชสีห์ หนุนส่งเสริมให้เป็นที่น่าเกรงขามแก่ผู้คนทั้งหลายใช้ดีกับคนที่ต้องคุมคน เป็นหัวหน้าคน  เสริมทางมหาอำนาจ ตบะ เดชะ แคล้วคลาด คงกระพัน และยังเป็นที่เสน่ห์เมตตาด้วยอำนาจและความสง่างามแห่งตระกูลราชสีห์ "ไกรสรราชสีห์" คือ ราชสีห์ ที่ยอมสละชีวิตตนเอง พร้อมพวกบริเวณอีก 5 ตัว เพื่อให้พระอิศวรสร้างพระอาทิตย์ ตามตำนานของศาสนาพราหมณ์ และได้ให้ความเคารพเป็นเทพองค์หนึ่ง ที่คอยปกป้องสรรพสัตว์ทั้งหลาย ดั่งเรื่องราวความรักชาติของวีรกรรมชาวค่ายบางระจัน ที่ยอมสละเลือดเนื้อและชีวิตเพื่อปกป้องแผ่นดิน ไว้ให้ลูกหลานได้สืบต่อไป
19  ห้องพระ / พระคณาจารย์อริยสงฆ์ทั่วประเทศ / Re: ประวัติ พระอาจารย์สมศักดิ์ อุตฺตโม(ญาถ่านเบิ้ม)วัดวังม่วง อ.เขมราฐ จ.อุบลราชธานี เมื่อ: 14 พฤศจิกายน 2565, 13:18:58
#พระงั่งไพรดำ

รายการจัดสร้าง
1.พระงั่งไพรดำ ฝั่งตะกรุดทองคำ 19 คู่
เปิดจองราคา 5,999 บาท หลังจอง 25,000 บาท
2.พระงั่งไพรดำ ฝั่งตะกรุดเงิน 108 คู่
เปิดจองราคา 1,999 บาท หลังจอง 10,000 บาท

มวลสารศักดิ์สิทธิ์ที่สำคัญ
1.ไพรดำ ใบ ดิน ลำต้น ราก
2.เหล็กเปียกยอดพระธาตุพนม
3.เหล็กอาถรรพ์ 77 อย่าง
4.ผงไม้มณีโครต
5.ผงว่านเสน่ห์ 108 อย่าง
6.ผงแร่เหล็กกายสิทธิ์ 108 ชนิด
7.ชนวนมวลสารหลักจากพระแก้วช่วยไทย
8.ชนวน108 อาจารย์
9.ชนวนพระกริ่งปวเรศวัดบวรนิเวศ ปี2530
10.ชนวนทองหล่อพระประธานอุโบสถวัดหนองป่าพงของหลวงพ่อชา
11.ชนวนหล่อพระเจ้าชัยวรมันขนาดตั้งบูชานำฤกษ์ของหลวงปู่หงษ์
12.ชนวนพระกริ่งเก่าสายศิษย์วัดประดู่ฉิมพลี
13.ชนวนพระกริ่ง 20 จังหวัด
14.แผ่นจารพ่อท่านนวล วัดใสหล้า
แผ่นจารพ่อท่านช่วง วัดควนปันตาราม พัทลุง สายเขาอ้อ
แผ่นจารพ่อท่านเอียด วัดโคกแย้ม
แผ่นจาร+ตะกรุดนารายณ์พลิกแผ่นดิน พ่อท่านเขียว
แผ่นจารพ่อท่านท้วมวัดศรีสุวรรณ
ชนวนเหรียญเก่าคณาจารย์สายภาคใต้น้ำหนักรวมกันหลายโล
ชนวน 108 ตะกรุดทุกยุค
ตะกรุดหลวงปู่คำพันธ์ วัดธาตุมหาชัย
ตะกรุดวัดประสาทบุญาวาสปี2500
ตะกรุดหลวงพ่อเกษม เขมโก
ตะกรุดหัวใจพุทธคาถา(19จังหวัด)
ตะกรุดหลวงปู่ท่อน จ.เลย
ตะกรุดหลวงปู่ดู่ วัดสะแก
ตะกรุดหลวงปู่ทองสา
แผ่นจาร+ตะกรุด ปู่ซาสุด ดอนสำโฮง
ตะกรุดพระอาจารย์บุนจอน กิดติยาโน ดอนขะเหมา
ตะกรุดพระอาจานคำพัก พรมมะหาไซ หลัก(กม.)24
ตะกรุดทองคำ เงิน นาก พระอาจารย์ สะหว่าง สุทัมโม วัดหลัก 33 เมืองปากช่อง แขวงจำปาสัก
ตะกรุด ลป. หา สุภโร
ตะกรุด ลป ฤทธิ์ รัตนโชโต สุรินทร์
ตะกรุด ลพ คูณ ปริสุทโธ วัดบ้านไร่
ตะกรุดปืนแตก ลป คำบุ คุตตจิตโต อุบลฯ
ตะกรุดลูกปืนหลวงพ่อมหาสิงห์
ตะกรุด ลพ เพี้ยน วัดเกริ่นกฐิน
ตะกรุดโสฬสมงคล
ตะกรุดนวภาสิทธิ์
ตะกรุดมงกุฏพระพุทธเจ้า
ตะกรุดมะหาระงับ
ตะกรุดมหาจักรพรรดิ
ตะกรุดพุทธทำนาย
ตะกรุดพระอาจารย์นอง วัดทรายขาว
ตะกรุดพ่อท่านทอง วัดสำเภาเชย
ตะกรุดนารายณ์แปลงรูปของพระอาจารย์นองวัดทรายขาว
เหรียญหล่อรูปเหมือนหลวงปู่แสง ญาณวโร รุ่นแสงธรรมเนื้อพิเศษ ผสมทองคำ 27 บาท จำนวน 14 เหรียญ
เหรียญรุ่นแรกหลวงปู่สรวง เทวดาเดินดิน
เหรียญรุ่นแรกหลวงปู่หงษ์ สุสานทุ่งมน
เหรียญสมเด็จพระญาณสังวร สด.พระสังฆราช องที่ 19 แห่งราชอาณาจักรไทย
เหรียญพระพุทธรูปทองคำ วัดไตรมิตร กทม .
เหรียญพระพุทธชินราช +รูปเหมือน หลวงตามหาบัว ญานสัมปันโน วัดป่าบ้านตาด อุดรธานี
เหรียญ ลป แหวน สุจินโน วัดดอยแม่ปั๋ง เชียงใหม่
เหรียญ ลป. สิม พุทธาจาโร วัดถ้ำผาปล่อง เชียงดาว เชียงใหม่
เหรียญ ลป. แว่น ธมปาโล วัดถ้ำพระสบาย
เหรียญพระสิวะลี + เหรียญ ลป. วัน อุตตโม)
เหรียญ ลป. จันทร์โสม กิตติกาโร วัดป่านาสีดา
เหรียญหลวงปู่บุญหนา ธัมมทินโน วป.โสตถิผล
เหรียญ ลป ผ่าน ปัญญาปทีโป
เหรียญ ลป สุภา กันตสีโล
เหรียญ ลป. เกษม เขมโก สุสานไตรลักษณ์ ลำปาง
เหรียญ ลป. แพ วัดพิกุลทอง
เหรียญ ลป. ลี กุสลธโร ภูผาแดง หลายรุ่น
เหรียญโชคดี ลป. ดี วัดพระรูป
เหรียญ ลป. คูบาสร้อย ขันติสาโร
เหรียญ ลพ. คล้อย ฐานธัมโม วัดถ้ำเขาเงิน อ.หลังสวน จ.ชุมพร
เหรียญ หลวงพ่อเดช เตชะจิตโต วัดสังฆมงคล
เหรียญ ลพ. รวย วัดท่าเรือ
เหรียญ ลพ. เพี้ยน วัดเกริ่นกฐิน
เหรียญ ลพ. ยิด วัดหนองจอก
เหรียญชนะสิบทิศ ลป คำบุ คุดตะจิดโต อุบลฯ
เหรียญ ลพ เจ็ดกษัตริย์ หลังพระเศรษฐีนวโกฐ
เหรียญรุ่นต่างๆสายหลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง
เหรียญรุ่นต่างๆ วัดพุทธมงคล จ.นครสวรรค์
เหรียญพระประจำวันเกิด วัดสุทัศน์ กทม.
เหรียญ ลพ. พิมลสีลาจารย์ วัดลาดปลาดุก
เหรียญพระราหู เงินขวัญถุง ลป พรหมา เขมจาโร วัดสวนหินผานางคอย อุบลฯ
เหรียญ ลป. ขาว อนาลโย วัดถ้ำกลองเพล
เหรียญเสด็จเตี่ยกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์
เหรียญพระสยามเทวาธิราช นิตยสารศักดิ์สิทธิ์สร้าง
ห่วงเหรียญพระกริ่งสิทัตโถ สมเด็จพระสังฆราช อยู่ วัดสระเกศ กทม.
ห่วงเหรียญ 100 ปี ลป ทวด อจ. ทิม วัดช้างไห้
ห่วงเหรียญ แม่ชีแก้ว เสียงล้ำ มุกดาหาร
ห่วงเหรียญ ลป. ปะไพ สุภโร อุดรธานี
รูปหล่อพระสังกัจจายน์ ลป. เกตุ วัดเกาะหลัก
รูปหล่อพระสิวลี ครูบา บุญชุ่ม ญาณสํวโร
เหรียญกษาปน์ เช่น เหรียญ ร.5 หลังพระสยามเทวธิราช เหรียญอินโดจีน เงินพุดด้วง เงินแท่งสยาม เงินโสฬสสยาม ร.4 ฯลฯ ,เงินลาด(ของอาณาจักรล้านช้าง),วัตถุโบราณอื่นๆ
แหวนพิรอด ลพ. เจริญ ฐานยุตโต อุดรธานี
แผ่นจารหลวงปู่สุธัมม์ ธัมมปาโล
แผ่นจารตะกรุด ๑๐๘ ของอาจารย์ปู่ซาสุด โซทิกาน ดอนสำโฮง สปป.ลาว
แผ่นฮู้จารพระถังซัมจั๋ง,พระอาจารย์ตั๊กม้อ และปฐมภิกษุณีจิงเจียนแห่งแผ่นดินจีน
แผ่นจารมือหลวงปู่อ่อน วัดลุมพินี
ตะกรุดหลวงปู่ทองสุข สุทธิจิตโต
เศษทองหล่อหลวงพ่อโสธร
เศษทองหล่อพระพุทโธคลัง วัดโคกหม้อ
ชนวนนวะโลหะ หลวงปู่พิศดู ธัมมจารี
ชนวนเหรียญพระกีสนาคอุปคุต พ่อท่านผอม
ตะกรุดพระครูอุทัย อุทโย วัดวิหารสูง
ตะกรุดหลวงพ่อหวล วัดพิกุล
ตะกรุดนวภาสิทธิ ครูบาข่าย ญาณเมธี วัดหมูนิ้ง
ตะกรุดหลวงพ่อรุ่ง วัดท่ากระบือ
ตะกรุดหลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม
ตะกรุดหลวงพ่อแช่ม วัดดอนยายหอม
ตะกรุดสาริกาอาจารย์ประสูติ
ตะกรุดหลวงปู่หมุน วัดบ้านจาน
ตะกรุดหลวงพ่อเดิม วัดหนองโพ
เหรียญรุ่นแรกหลวงปู่หงษ์ พรหมปัญโญ
เหรียญหลวงพ่อยิด วัดหนองจอก
เหรียญหลวงพ่อรวย วัดท่าเรือ
เหรียญพระครูทัน นะพามีฟอง สปป.ลาว
เหรียญหลวงปู่บุนมี กิดติธัมมาวโน วัดลาวพุดทะวง สปป.ลาว
เหรียญหลวงปู่เปลี้น วัดชอนสารเดช
เหรียญหลวงพ่อสมชาย วัดเขาสุกิม
เหรียญหลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง
เหรียญหลวงพ่อฤษีลิงดำ วัดท่าซุง
เหรียญกษาปน์อินโดจีน
เงินฮางโบราณ
พระโคนสมอห้อยพระบาท ( ชินเงิน )
----
15.ผงพระวัดพุทธมงคล นครสวรรค์ ปี 2510 ผ่านการอธิษฐานจิตและปลุกเสกโดยคณาจารย์สายหลวงปู่มั่นดังนี้ :
หลวงปู่ฝั้น อาจาโร
หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ
พระอาจารย์วัน อุตตโม
หลวงปู่สิม พุทธาจาโร
หลวงปู่บุญมา ฐิตเปโม
หลวงปู่เจี๊ยะ จุนฺโท
หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
หลวงปู่โชติ คุณสมฺปนฺโน
หลวงปู่ขาว อนาลโย
หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน ( สวดลักขี )
-----
16.ผงพระสองสมเด็จ ปี 2538
ประกอบด้วยใบลานลงอักขระ 999 แผ่น โดยคณาจารย์ทั่วประเทศ ณ ห้วงเวลานั้น
ว่าน 108
ข้าวก้นบาตร หลวงปู่เทสก์ วัดหินหมากเป้ง
ก้นยาหลวงปู่ดูลย์ วัดบูรพาราม
ก้นยาและยาเส้นหลวงพ่อคูณ วัดบ้านไร่
ข้าวสารเทวดาครูบาธรรมชัย
เส้นเกษาหลวงปู่สิม
แป้งเสกหลวงปู่บุดดา
น้ำมันงาและผงวิเศษครูบาสุรินทร์ วัดศรีเตี้ย
ฯลฯ
------
17.ผงพระสองสมเด็จทั้งหมดนี้ได้รับการอธิษฐานจิตและปลุกเสกโดยพระอาจารย์องค์สำคัญแห่งยุคปี ๓๐ เช่น :
ครูบาเจ้า เกษม เขมโก
หลวงปู่คร่ำ ยโสธรา
หลวงปู่แพ เขมังกโร
หลวงพ่ออุตตมะ อุตตโม
หลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ
สมเด็จพระมหาธีราจารย์
พ่อท่านนอง ธัมภูโต วัดทรายขาว
หลวงปู่หยอด ชินวังโส
หลวงพ่อเปิ่น ฐิตคุโณ
หลวงปู่คำพันธ์ โฆษปัญโญ
หลวงปู่คำ วัดหนองแก
หลวงปู่ทองเบิ้ม วัดวังยาว
หลวงพ่อยิด วัดหนองจอก
หลวงปู่เกตุ วัดเกาะหลัก
หลวงพ่อคล้อย วัดถ้ำเขาเงิน
หลวงพ่อเก๋ วัดแม่น้ำ
หลวงพ่อลำไย วัดทุ่งลาดหญ้า
หลวงปู่ร่วง วัดศาลาโพธิ์
หลวงพ่อฮวด วัดดอนโพธิ์ทอง
หลวงปู่เมี้ยน วัดโพธิ์กบเจา
หลวงพ่อศรีเงิน วัดดอนศาลา
หลวงพ่อกลั่น วัดเขาอ้อ
พ่อท่านแดง วัดควนนางพิมพ์
หลวงพ่อคล้อยวัดภูเขาทอง
หลวงปู่ดี วัดพระรูป
ฯลฯ
----
18.ผงพระสมเด็จรุ่นแรกวัดแก่งตอย ได้รับการอธิษฐานจิตและปลุกเสกโดย :
หลวงปู่คำพันธ์ โฆษปัญโญ วัดธาตุมหาชัย
หลวงปู่กิ ธัมมุตฺตโม วัดป่าสนามชัย
ญาท่านสวน ฉันทโร วัดนาอุดม
ฯลฯ
----
19.ผงวิเศษผ่านการอธิษฐานจิตปลุกเสกโดยคณาจารย์ยุคปี ๑๐ เช่น :
หลวงปู่ชา วัดหนองป่าพง
หลวงปู่ดูลย์ วัดบูรพาราม
หลวงปู่สาม วัดไตรวิเวก
หลวงปู่ฝั้น วัดป่าอุดมสมพร
หลวงปู่สิม วัดถ้ำผาปล่อง
หลวงปู่บาง วัดหนองพลับ
หลวงปู่ทิม วัดละหารไร่
หลวงพ่อเนื่อง วัดจุฬามณี
หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี
หลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง
หลวงพ่อกี๋ วัดหูช้าง
หลวงพ่อผาง วัดอุดมคงคาคีรีเขตต์
หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม
หลวงพ่อน้อย วัดธรรมศาลา
หลวงพ่อเต๋ วัดสามง่าม
พระอาจารย์นำ วัดดอนศาลา
หลวงพ่อมุ่ย วัดดอนไร่
หลวงพ่อถิร วัดป่าเลไลย์
หลวงพ่อกวย วัดโฆสิตาราม
หลวงพ่อคง วัดบ้านสวน
หลวงพ่อหมุน วัดเขาแดง
หลวงพ่อพรหม วัดช่องแค
หลวงพ่อโด่ วัดนามะตูม
หลวงพ่อหอม วัดซากหมาก
หลวงพ่อคง วัดวังสรรพรส
หลวงพ่อทบ วัดชนแดน
หลวงพ่อโอด วัดจันเสน
หลวงพ่อหน่าย วัดบ้านแจ้ง
หลวงพ่อเอีย วัดบ้านด่าน
หลวงพ่อพริ้ง วัดโบสถ์โก่งธนู
หลวงพ่อนอ วัดกลางท่าเรือ
หลวงพ่อแจ่ม วัดวังแดงเหนือ
หลวงพ่อฑูรย์ วัดโพธิ์นิมิตร
หลวงพ่อทองอยู่ วัดใหม่หนองพะอง
หลวงพ่อเทียม วัดกษัตราธิราช
ครูบาวัง วัดบ้านเด่น
หลวงพ่อปี้ วัดลานหอย
หลวงพ่อตาบ วัดมะขามเรียง
หลวงพ่อเมือง วัดท่าแหน
หลวงพ่อผัน วัดราษฏร์เจริญ
หลวงพ่อเชน วัดสิงห์
หลวงพ่อ คร้าม วัดกุ่มหัก
ฯลฯ
---
20.ธุลีดินอิฐศิลาอโรคยาศาลา :
พระธาตุเชิงชุม
ปราสาทตาเมือน
ปราสาทจอมพระ
ปราสาทโต๊ะโม๊ะ (จำปาสัก ลาว)
ปราสาทธาตุนางพญา
ปราสาทสระกำแพงน้อย
ปราสาทบ้านช่างปี่
ปราสาทบ้านเบญจ์
ปราสาทปรางค์กู่
ปราสาททองหลาง
ปราสาทตาเมือนธม
ปราสาทสมอ(ทามจาน)
-----
21.ผงหลวงปู่จันทร์ เขมิโย วัดศรีเทพฯ (ผงโสฬสมหาพรหม ของพระครูสีทัตต์ สุวรรณมาโจ ชุดที่นำมาสร้างพระนางพญาหลวงปู่จันทร์)
22.ผงหลายร้อยอาจารย์ทั้งรุ่นเก่าใหม่ ของ อ. อำพล เจน สะสมไว้นานปี
ผงของครูบาอาจารย์ทั่วไปทั้งที่รวบรวมเองและผู้มีจิตศรัทธามอบให้
ผงหลวงพ่อชา สุภัทโธ
ผงหลวงปู่บุญมา ฐิตเปโม
ผงหลวงพ่ออุตตมะ
ผงฤษีไม้จันทร์หอม (อ.อนันต์ มอบให้)
ผงอิทธิเจเขียนลบ ๘๔๐๐๐ ครั้งของหลวงปู่พรหมา เขมจาโร
ก้นยาสูบ อ.ปู่ซาสุด
ชานหมากหลวงปู่ทูล ขิปปปัญโญ
ชานหมากหลวงปู่หงษ์ พรหมปัญโญ
ชานหมากหลวงปู่บุญเพ็ง วัดถ้ำกลองเพล
ชานหมากหลวงปู่ทิม วัดพระขาว
ปูนเสกคุณแม่ชีบุญเรือน โตงบุญเติม
ทรายทองคุณแม่ชีบุญเรือน โตงบุญเติม
ผงพระ ๓ อริยสงฆ์ (มีส่วนผสม ๑๓๘ อย่าง เช่น สรีระหลวงปู่สี วัดถ้ำเขาบุนนาก)
ผงพระนางพญาทิพย์สุวรรณรุ่นแรก
ผงพุทธคุณหลวงปู่ดู่วัดสะแก
ข้าวก้นบาตรหลวงปู่สุภา กันตสีโล
ข้าวก้นบาตรหลวงปู่หล้า เขมปัตโต
ข้าวก้นบาตรหลวงปู่เปลี้ย วัดชอนสารเดช
ไม้กุฏิหลวงพ่อกบ วัดเขาสาลิกา
ดินจากสถานที่เข้าฌานของพระกกุสันโท,พระกัสสปะและพระพุทธเจ้า
ผงไม้จันท์หอมพระเมรุมาศพระเจ้าอยู่หัว ร.๙
ผงขุยนาคราชพระสายหลวงปู่มั่นแถบริมน้ำโขงมอบให้ (ผ่านการตรวจโดยหลวงพ่อชื่น วัดตาอี กับ หลวงปู่หงษ์ วัดเพชรบุรี ได้ความตรงกัน)
ผงหลวงปู่ชื่น วัดตาอี ๑พันยันต์
ผงหลวงพ่ออุ้น วัดตาลกง
ผงสายเสด็จปู่ท้าวมหาพรหมาธาดา
ผงปถมัง อ.ชุม ไชยคีรี
ผงหลวงพ่อสละ วัดประดู่
ผงญาท่านสวน วัดนาอุดม
ผงตะไปพระกริ่งวัดสุทัศน์
ผงเจ้าน้ำเงินพ่อท่านเอียด วัดเขาอ้อ
ผงตะไบตะปูสังขะวานรวัดพระแก้ว และ วัดสุทัศน์
ผงยอดบายศรีหลวงปู่หงษ์ วัดเพชรบุรี
ผงชันเพชร (อ.อนันต์ มอบให้)
ผงธูปโบสถ์พรามหณ์ เสาชิงช้า
ผงไก่ฟ้าพญาเลี้ยง หลวงปู่สรวง วรสุทโธ
ผงตะไบชนวนหล่อพระประธานของ ดร.ไมตรี บุญสูง
ผงตะไบพระกศปมหาฤษีรุ่นแรก หลวงปู่ทองสา
แป้งเสกหลวงปู่บุดดา ถาวโร วัดกลางชูศรีเจริญสุข
ผงพระธาตุพนม
ทรายเสกหลวงพ่อแช่ม วัดดอนยายหอม
ทรายเสกหลวงปู่เปลี้ย วัดชอนสารเดช
ทรายเสกหลวงปู่ทิม วัดพระขาว
พระว่านจำปาสักแตกหัก
ผงแร่เกาะล้านของหลวงปู่อ่อน วัดลุมพินี
ผงแร่บางไผ่สายวัดโมลี (จำผู้ที่มอบให้มาไม่ได้)
ดินกากยายักษ์
ผงไม่จันท์หอมหลวงพ่ออุตตมะ
ผงนิลกาฬหลวงพ่ออุตตมะ
ผงพระสมเด็จรุ่นแรกหลวงปู่พรหมา ปี ๒๕๓๔
ผงพระฤษีรุ่น ๒ (ฤษีเล็ก)หลวงปู่พรหมา ปี ๒๕๓๕
ผงพระฤษีรุ่น ๓ (ฤษีกลาง)หลวงปู่พรหมา ปี ๒๕๓๕ (มีเกษาหลวงปู่ผสมอยู่ด้วยค่อนข้างเยอะ)
ผงชานหมากหลวงปู่หงษ์วัดเพชรบุรี (มีเกษาผสมอยู่ด้วย)
ผงเจ้าคุณอุบาลีสิริจันโทวัดบรมนิวาส
ผงหลวงปู่แหวนชุดที่นำมาสร้างรูปเหมือนนหน้าตัก ๒ นิ้ว ถวายสมเด็จพระสังฆราชเจริญ
ผงปถมัง หลวงปู่ชอบ ฐานสโม
ผงพระชำรุดแตกหักหลวงปู่คำพันธ์
ผงว่านหลวงปู่แพงตา เขมิโย
ปฐวีธาตุหลวงปู่แสง ญาณวโร
ผงพระพุท
........
มวลสารหลักที่ใช้อีกชุด
1.ขี้เหล็กไหลจากถ้ำสกลนครนำมาบดเป็นผง
2.ผงมวลสารของหลวงปู่ทวด วัดช้างให้
3.กาฝากไม้มงคล 9 อย่าง 1.กาฝากรักซ้อน 2.กาฝากมะรุม 3.กาฝากมะยม 4.กาฝากมะขาม 5.กาฝากกาหลง 6.กาฝากขนุน 7.กาฝากยอ 8.กาฝากพยุง 9.กาฝากคูณ
4.ผงแก่มขามฟ้าผ่า
5.ผงแก้นงิ้วดำ ตัวผู้ ตัวเมียจากเขมร
6.ผงเงินเมืองผีบังบด
7.ผงช่องระอา
8.งาช้างจากเขมร
9.ผงกระดูกช้างจากบุรีรัมม์
10.วานสายเสน่ห์
11.วานสายเหนียว
12.เม็ดต้นมณีโคตร.จากฝั่งลาว บดเป็นผง
13.หอยพันปีจากบ้านสามแยกเมืองใหม่
14.ผงพระสมเด็จแท้จากวัดระฆัง
15.ผงกาลาตาเดียว
16.ผงดอกไม้และขี้ต่างๆ
- ดอกบัวบูชาองค์หลวงพ่อโสธร
- ขี้ธูปจากที่บูชาสมเด็จโตฯ วัดระฆัง
- ขี้ธูปและดอกไม้จากศาลเจ้าพ่อหลักเมือง
- ดอกไม้บูชาพระแก้วมรกต
- ดอกไม้บูชาพระนอนวัดโพธิ์
- ผงปูนและเศษทองปิดองค์พระพุทธรูป ในวัดโพธิ์ท่าเตียน
- ชานหมาก น้ำหมาก และผงวิเศษของหลวงปู่สี
17.ผงพระลักษณ์ของหลวงกาหลง
18.คำหมากฤาษีที่ยุในหิน ญาถ่านท่านนั่งเห็นแล้วให้ลูกศิษย์ไปทุบเอา
19.ชิ้นส่วนพระสมเด็จบางขุนพรหมที่แตกหักจำนวนมาก เมื่อคราวเปิดกรุ พ.ศ 2500
20.ผงชิ้นส่วนพระกรุต่างๆ ที่ชำรุด เช่น พระคง พระผงวัดสามปลื้ม
21.ผงพระวัดปากน้ำ ภาษีเจริญ กรุงเทพฯ
22.ผงงาช้างโบราณ
23.ผงธนบัตรพันล้าน ธนาคารแห่งประเทศไทย
24.ผงตะไบอาวุธต่างๆ เช่น หอก ดาบ ง้าวโบราณ
25.ผงว่าน108 ผงจิตรลดา ผงอัญมณี อันเป็นมงคลต่างๆ
26.ผงทรายเสก พระคณาจารย์ 108 องค์
.....
มวลสารศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ
ธาตุเหล็กไหล พระธาตุ 500 อรหันต์ พระธาตุข้าว พระธาตุ 500 อรหันต์ พระธาตุข้าว หงอนพญานาค แก้วขนเหล็ก เพชรหน้าทั่ง ผงเหล็กไหลฤาษี ผงเหล็กไหลเงินยวง ผงเหล็กไหลตาแรด โคตรเหล็กไหลสีเงินยวง ขี้เหล็กไหล เหล็กย้อย เหล็กทรหด หยกพันปี แร่บางไผ่ ผงธนบัตรเก่า ผงตะไบเหล็กน้ำพี้ (ถลุงแล้ว) แร่เหล็กน้ำพี้ไหลเพชรดำ ขมิ้นหินหมื่นปี ข้าวตอกพระร่วง แก่นไม้สักหินอายุ 160 ล้านปี ลูกมณีโคตร คดกะลา กะลาตาเดียว กะลาไม่มีตา (กะลามหาอุด) มะพร้าวลูกกรอก กัลปังหาดิน ดินโป่ง ดินกลางใจเมือง และน้ำจากศาลหลักเมือง 76 จังหวัด ตะกรุดข้าวสารหิน คดหอย ทรายเสก ผงพระครูเทพโลกอุดร ผงหลวงปู่ดู่ วัดสะแก ผงหลวงปู่แหวน ผงจิตรลดา ผงพระปิลันทน์ ผงพระตุ๊กตาวัดพลับ ผงหลวงปู่ทิมวัดระหารไร่ ผงหลวงพ่อแก้ววัดเครือวัลย์ แป้งเสกหลวงปู่อยู่วัดไทรโยง ผงว่านหลวงพ่อเมี้ยนวัดโพธิ์กบเจา เศษพระหักหลวงพ่อมีวัดมารวิชัย เศษพระหักหลวงปู่คำพันธ์วัดธาตุมหาชัย และวัดต่าง ๆ อีกมากมาย เขากวางคุด น้ำมันมนต์หลวงพ่อเมี้ยนวัดโพธิ์กบเจา ชานหมากเสกหลวงพ่อดำวัดท่าทอง ดินวิเศษสีเหลือง สมุนไพร 300 กว่าชนิด น้ำมนต์ 100 ตุ่ม หลวงปู่หงส์วัดเพชรบุรี ดินวิเศษสีเขียว แร่เงิน แร่ทอง แร่นาค ผงธูปสมเด็จโตวัดระฆัง ผงธูปวัดเกศไชโย ผงธูปหลวงปู่ทวดวัดช้างให้ ผงธูปหลวงพ่อแช่มวัดท่าฉลอม ผงธูปหลวงพ่อจรัญวัดอัมพวัน แม่ลิ้มกอเนี่ย ผงธูปศาลเจ้าพ่อเสือ ผงธูปวัดเล่งเน่ยยี่ ผงธูปวัดไต๋ฮงกง พระบรมสารีริกธาตุ หินพระธาตุเขา 300 ยอด พระธาตุสิวลีสีขาว พระธาตุสิวลีสีทอง พระธาตุแก้วขวานฟ้าผ่าเนื้อหิน 16 อัน ข้าวสารหินหมื่นปี ข้าวสารดำพันปี ผงมณีรัตนะ โคตรเหล็กไหล (สีดำเงา) แร่เกาะล้าน เหล็กย้อย ลูกมณีโคตร อุกามณี (สะเก็ดดาว) ไม้กลายเป็นหิน ดอกไม้หิน เพชรน้ำค้าง หินเขี้ยวหนุมาน ขมิ้นขาวเปลือกหอย 75 ล้านปี ไม้งิ้วดำ คดปลวก ลูกธนูคนธรรพ์ แร่ทรายเงิน แร่ทรายทอง ผงงาช้าง งาช้างตายพราย งาช้างกระเด็น งาช้างกระดอน ผงเพชรแท้ เศษพลอยเมืองจันทร์ ผงเก่า วัดระฆัง ผงสร้างพระหลวงพ่อคูณวัดบ้านไร่ ผงสร้างพระหลวงพ่อแพวัดพิกุลทอง ผงสร้างพระหลวงพ่อเปิ่น วัดบางพระ ผงสร้างพระหลวงพ่อคงวัดบางกระพ้อม ผงสร้างพระหลวงปู่นิลวัดครบุรี ผงสร้างพระหลวงพ่อยิด วัดหนองจอก ผงสร้างพระหลวงพ่อเชิญวัดโคกทอง ผงสร้างพระหลวงปู่คำพันธ์วัดธาตุมหาชัย ผงสร้างพระ หลวงพ่อเกษมเขมโกสุสานไตรลักษณ์ ผงสร้างพระอาจารย์ต่าง ๆ อีก 300 กว่ารูป (ซึ่งไม่สามารถลงหมดได้) เศษพระหักของวัดระฆัง เศษพระหักวัดปากน้ำ พระเครื่องเก่าที่ชำรุดอีกเป็นจำนวนมาก ผงตะไบพระกริ่งเนื้อนวะวัดสุทัศน์ ชานหมากหลวงปู่นิลวัดครบุรี ชานหมากหลวงพ่อเมี้ยนวัดโพธิ์กบเจา แป้งเสกหลวงปู่บุดดา ผงยาจินดามณีหลวงปู่บุญวัดกลางบางแก้ว ผงจินดามณีหลวงปู่เพิ่มวัดกลางบางแก้ว น้ำมันงาเสกหลวงพ่อคงวัดเขาสมโภชน์ น้ำมันงาเสกแร่บางไผ่ น้ำมันมนต์ไพรดำ น้ำมันมนต์จากคณาจารย์ต่าง ๆ และศาลหลักเมืองทั่วประเทศ ดินกากยายักษ์ ดินพระแม่ธรณี ดินวิเศษสีขาว ดอกไผ่ 70 ปี ว่าน 108 เกสร 108 สมุนไพร 108 ผงยันต์ 108 ผงอิทธิเจ ผงปถมัง ผงมหาราช ผงตรีนิสิงเห ผงนรหรคุณ แร่อาถรรพณ์ภูเขาควายประเทศลาว ผงฤาษีผสมแล้ว ผงศักดิ์สิทธิ์จากถ้ำละว้า ผงศักดิ์สิทธิ์จากถ้ำม้าร้อง ผงศักดิ์สิทธิ์จากถ้ำไก่หล่น ผงศักดิ์สิทธิ์จากถ้ำเนินมะปรางค์ ผงใบลานคัมภีร์คาถาต่าง ๆ ผงเก่าสมัยอยุธยา ผงเก่าสมัยทวาราวดี ใบเสมาศิลาแลงสมัยอยุธยา ผงเก่าที่อยู่ในไหขุดได้ที่ จากวัดร้างอายุหลายร้อยปี ทองคำเปลวจากสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ทั่วประเทศ ตะไคร่โบสถ์ ตะไคร่วิหาร ตะไคร่พระปรางค์สามยอด ตะไคร่กำแพงเมืองเก่า ดินจากเนินดินพระอรหันต์ ดินจากสถานที่ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน และสถานที่ปฐมเทศนาจากประเทศอินเดีย (ดินสังเวชนียสถานทั้ง 4 แห่ง) กระเบื้องโบสถ์และวิหารหลวงพ่อโสธร กระเบื้องโบสถ์และวิหารหลวงพ่อชินราช กระเบื้องโบสถ์และวิหารพระแก้วมรกต กระเบื้องโบสถ์และวิหารวัดไร่ขิง กระเบื้องโบสถ์หลวงพ่อโตวัดบางพลีใน กระเบื้องโบสถ์และวิหารหลวงพ่อพระร่วงโรจน์ฤทธิ์ กระเบื้องโบสถ์และวิหารหลวงพ่อเศวตฉัตร์ ชิ้นส่วนหรืออิฐเก่าจากองค์พระธาตุพนม ชิ้นส่วนหรืออิฐเก่าจากองค์พระปฐมเจดีย์ ชิ้นส่วนหรืออิฐเก่าจากองค์พระธาตุและตะไคร่พระบรมสารีริกธาตนครศรีธรรมราชและเจดีบริวารอีก 150 กว่าเจดีย์ ผงตะไบสังฆวานร ผงลูกแก้วสามดวงหลวงพ่อพรหมวัดช่องแค ผงลูกแก้วสีชมพู หลวงปู่ดู่วัดสะแก ผงใต้คานหลวงพ่อคล้อยวัดถ้ำเขาเงิน ผงหลวงปู่โต๊ะวัดประดู่ฉิมพลี ผงหลวงพ่อแดงวัดศรีมหาโพธิ์ ผงหลวงปู่ทองฤทธิ์ วัดป่าฉันทนิมิต ผงหลวงพ่อโอดวัดจันทร์เสนจว.นครสวรรค์ ผงหลวงพ่อสุรเสียงวัดป่าเชิงจาน ผงพระกรุวัดป่าเชิงจาน ไหลคำดำประเทศลาว จีวรหลวงพ่อทองดำวัดท่าทอง ชาดหมากหลวงปู่หงษ์วัดเพชรบุรี ชานหมากหลวงปู่ทิมวัดพระขาว ชานหมากหลวงพ่อพุฒิวัดป่าสาละวัน สีผึ้งหลวงพ่อพรหม
.....
มวรสารศักดิ์สิทธิ์
    • ผงใบโพธิ์ที่ประชุมเพลิง หลวงปู่สำเร็จลุน
    • ผงธาตุ๑๐๘ ผงเกสร๑๐๘ ว่าน๑๐๘ โอสถ๑๐๘
    • ผงไครเสมา ไครเจดีย์ ไครเสาตะลุงช้างเผือก
    • ผงธูปพระอารามหลวง ผงธูปพระบรมธาตุเจดีย์            
    • ผงวิเศษทั้ง๕คัมภีร์
    • ผงยาวาสนาจินดามณี เเก้วมณีนพเก้า
    • ผงไม้มณีโคตร
    • ผงรังต่อจับหน้าโบสถ์
    • ผงเหล็กน้ำพี้ ผงสมเด็จวัดสัมฤทธิ์
    • ผงเครื่องคายพันเเละคายธรรม
    • ผงรัตนมาลา ผงจักรพรรดิ์ ดิน๗โป่ง๗ท่า๗จอม      
    • ผงข้าวตอกพระร่วง ผงว่านจำปาสัก
    • ผงพระธาตุพนม
    • ผงดินสังเวชนียสถานทั้ง ๔
    • ผงเกษา อังคารธาตุ เเละชานหมากบูรพาจารย์ฯลฯ
20  ห้องพระ / พระคณาจารย์อริยสงฆ์ทั่วประเทศ / Re: ประวัติ พระอาจารย์สมศักดิ์ อุตฺตโม(ญาถ่านเบิ้ม)วัดวังม่วง อ.เขมราฐ จ.อุบลราชธานี เมื่อ: 13 สิงหาคม 2565, 16:43:03
อายุการสืบทอดมีมายาวนาน
21  ห้องพระ / พระคณาจารย์อริยสงฆ์ทั่วประเทศ / Re: ประวัติ พระอาจารย์สมศักดิ์ อุตฺตโม(ญาถ่านเบิ้ม)วัดวังม่วง อ.เขมราฐ จ.อุบลราชธานี เมื่อ: 07 สิงหาคม 2565, 14:45:09
พระแสงดาบอุตฺตโมบารมี
เป็นศาสตราคู่บารมี ที่มีความสำคัญในการเตรียมเครื่องประกอบในพิธีพุทธาภิเษก พิธีกรรมบวงสรวงต่างๆ เห็นพระแสงซึ่งถือเป็นยุทธภัณฑ์อันมีความศักดิ์สิทธิ์ ที่มีความต่อเนื่องมาอย่างยาวนาน โดยยุทธภัณฑ์ที่มีความสำคัญในฐานะหนึ่งในเครื่องเบญราชกกุธภัณฑ์ คือ พระแสงขรรค โดยพระขรรค์ หมายถึง พระปัญญาอันจะตัดมลทินถ้อยความไพร่ฟ้าข้าแผ่นดินให้เห็นแจ้งทั่วทั้งโลกธาตุ ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญมาแต่โบราณของพระมหากษัตริย์

พระแสงดาบ ก็เปรียบเสมือนด้านอำนาจวาสนา ยังประกอบพิธีลงอาคมไพรดำ ยิ่งขาดไม่ได้

    ประเด็นหลักที่สร้างเพื่อให้เป็นของสืบทอดของครูธรรมและใช้ประกอบพิธีกรรมอาคมต่างๆ  ในการปลุกเสกจัดนิมนต์พระสงฆ์ จำนวน 108 รูป ปลุกเสก เป็นเวลา 3 คืน

มวลสารหลักในมีดหมออาคม มีดังนี้
1.ตะปู สังฆวานรใช้ตอกโบสถ์,วิหาร,พระธาตุเจดีย์
2.เหล็กน้ำพี้ 
3.ยอดพระเสด็จฟ้าผ่า
4.ตะปูจากกองถ่านศพปรมาจารย์ใหญ่ต่างๆ
5.เหล็กฝาบาตรโบราณ
6.เหล็กช่อฟ้าอุโบสถ
7.แร่เหล็กในถ้ำต่างๆ
8.อุดมวลสารศักดิ์สิทธิ์ในด้ามมีด
เหล็ก 77 อย่าง นำมาผสม ดังนี้
1.เหล็กจากยอดพระเจดีย์มหาธาตุ
2.เหล็กขนันผีพรายตายทั้งกลม
3.ตะปูตอกฝาโลงจาก 7 ป่าช้า
4.เหล็กที่เกิดการชำรุดจากอาวุธที่พังในการศึก
5.เหล็กแทงคอวัว
6.เหล็กเบญจพรรณกัลเม็ด
7.เหล็กหล่อบ่อพระแสง
8.เหล็กที่ใช้สำหรับตรึงโลงศพ
9.หม้อผีตายหง
10.หอกสัมฤทธิ์
11.พระแสงหัก
12.เหล็กสลักประตู
13.เหล็กถ้ำต่างๆ
14.เหล็กกำแพง
15.เหล็กน้ำพี้
16.ธาตุเงิน
17.ธาตุทอง
18.ธาตุทองแดง
19.ผงถ่านไม้ไผ่
20.ผงตะไบพระต่างๆ
21.ยอดปราสาท
22.เหล็กประตูโบสถ์
23.เหล็กประตูวัด
24.เหล็กประตูบ้านคนตายท้องกลม
25.เหล็กประตูบ้านคนผูกคอตาย
26.เหล็กสะพาน
27.เหล็กทางสามแพร่ง
28.เหล็กฟ้าผ่า
29.เหล็กลำกล้องปืนที่ยิงคนตาย
30.ตะปูสังฆวานร
31.บาตรพระเก่า
32.เหล็กน้ำพี้
33.เหล็กน้ำลี้
33.ชนวนทองล้น หล่อพระประทาน
34.เหล็กช่อฟ้าอุโบสถ
35.ยอดปลีฉัตรทองพระธาตุ
36.เหล็กเปียก
37.เหล็กตะแกรงเผาศพ
38.เหล็กดึงคอศพ
39.เหล็กพลิกศพ
40.ตะปูเผาผีตายโหง
41.กำไรสำริด
42.โซ่ตรวนนักโทษอุกฉกรรณ์
43.ปรอทดำ
44.แร่เจ้าน้ำเงิน
45.แร่บริสุทธิ์(สังกะสี)
46.เศษสะเก็ดฟ้าผ่า หรือ(ที่เรียกว่าขวานฟ้าผ่า)
47.ลูกกระสุนปืนที่ยิงคนตาย
48.เหล็กกรงขัง
49.แร่เงินยวง
50.เหล็กแกนเจดีย์
51.เหล็กสมอเรือสำเภาโบราณ
52.กั่นพร้าหัก
53.โซ่ล่ามช้าง
54.ตราชั่งโบราณ
55.ขอบบาตร
56.ตะขอช้าง
57.กรีชทองแดง
58.ผานไถ
59.พญาร้อยคุ้ง
60.เหล็กปอฉ้อ
61.เหล็กฐานเทียนชัย
62.เหล็กไอ้ใบ้
63.เหล็กเที่ยงตรง
64.เหล็กแกะ
65.เหล็กไตรภพ
66.เหล็กลูกปืนใหญ่โบราณ
67.เหล็กหล่อบ่อพระขรรค์
68.เหล็กใบเลื่อย
69.ธาตุทองเหลือง
70.เหล็กเตารีดโบราณ
71.ขวานเหล็กโบราณ
72.กาน้ำชาเหล็กโบราณ
73.ทั่งเหล็กโบราณ
74. กล่องเหล็กโบราณ
75. กุญแจเหล็กโบราณ
76.เหล็กเกราะโบราณ
77.เคี่ยวเกี่ยวข้าวโบราณ
และบรรจุมวลสารอาถรรพ์ 77 ชนิด

.....มหาศาสตราคม สร้างไว้เป็นเครื่องศาสตราวุธทรงพุทธานุภาพ
ปกป้องคุ้มครองบรรดาลูกศิษย์ลูกหา กล่าวได้ว่าเป็นที่สุดแห่งศาสตร์พระเวทย์พิชัยสงคราม เป็นวิชาชั้นสูงแห่งเครื่องราชกกุธภัณฑ์

.....การสร้างมหาศาสตราคม ทั้งแบบที่ใช้เป็นอาวุธและแบบที่ใช้เฉพาะในพิธีกรรมนั้น จะมีขั้นตอนคล้ายๆกัน
จะต่างกันเพียงเรื่องที่จะใช้เป็นอาวุธด้วยหรือไม่เท่านั้น ถ้าจะใช้เป็นอาวุธด้วยก็ต้องพิถีพิถันในการตีใบมีดมากขึ้น

......ตำราการสร้างดาบมหาศาสตราคมต้องลงอักขระเลขยันต์เสกปลุกทุกส่วนของมีด คือ ใบมีด ด้ามมีด ปลอกมีด เมื่อจะทำการสร้างดาบมหาศาสตราคม
ขั้นแรกต้องจัดหาวัสดุโลหะธาตุต่างๆที่ใช้ทำใบมีดจะเป็นสิ่งที่ถือกันว่ามีอาถรรพ์อยู่ในตัว มีความศักดิ์สิทธิ์อยู่ในตัว ใช้โลหะหลายชนิดประกอบกันแล้วตีเป็นใบมีด
โดยฤกษ์ยามคือสิ่งสำคัญ

......ฤกษ์ยามคือสิ่งสำคัญ โดยแบ่งออกเป็น 5 วาระ ดังนี้
วาระที่ 1 หลอมเหล็ก โดยประกอบพิธีกรรมขอขมาอาถรรพ์ในตัวเหล็ก
ฤกษ์วาระที่ 1 วันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ.2563
ฤกษ์เวลา วันเสาร์ 06.00 ถึง 08:29 น.ในวันอาทิตย์
ตรงกับวันเสาร์ ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือนสิบสอง(๑๒) ปีชวด จุลศักราช ๑๓๘๒
คริสตศักราช 2020 , มหาศักราช 1942 , รัตนโกสินทรศก 239
อธิกสุรทิน ปกติมาส อธิกวาร , โสรวาร(ส) กัตติกมาส โทศก

วาระที่ 2 ตียึดเหล็กให้ยาว
วาระที่ 3 บวงสรวงโลหะ
วาระที่ 4 ขึ้นรูปดาบ โดยประกอบพิธีกรรมขอขมาครู
วาระที่ 5 พุทธาภิเษกพระแสง

......ขั้นแรกต้องจัดหาวัสดุโลหะธาตุต่างๆที่ใช้ทำใบมีดจะเป็นสิ่งที่ถือกันว่ามีอาถรรพ์อยู่ในตัว มีความศักดิ์สิทธิ์อยู่ในตัว ใช้โลหะ 77 อย่างหลอมเข้ากันแล้วตีเป็นใบมีด
การใช้เหล็ก 77 อย่าง นำมาผสม ดังนี้
1.เหล็กจากยอดพระเจดีย์มหาธาตุ
2.เหล็กขนันผีพรายตายทั้งกลม
3.ตะปูตอกฝาโลงจาก 7 ป่าช้า
4.เหล็กที่เกิดการชำรุดจากอาวุธที่พังในการศึก
5.เหล็กแทงคอวัว
6.เหล็กเบญจพรรณกัลเม็ด
7.เหล็กหล่อบ่อพระแสง
8.เหล็กที่ใช้สำหรับตรึงโลงศพ
9.หม้อผีตายหง
10.หอกสัมฤทธิ์
11.พระแสงหัก
12.เหล็กสลักประตู
13.เหล็กถ้ำต่างๆ
14.เหล็กกำแพง
15.เหล็กน้ำพี้
16.ธาตุเงิน
17.ธาตุทอง
18.ธาตุทองแดง
19.ผงถ่านไม้ไผ่
20.ผงตะไบพระต่างๆ
21.ยอดปราสาท
22.เหล็กประตูโบสถ์
23.เหล็กประตูวัด
24.เหล็กประตูบ้านคนตายท้องกลม
25.เหล็กประตูบ้านคนผูกคอตาย
26.เหล็กสะพาน
27.เหล็กทางสามแพร่ง
28.เหล็กฟ้าผ่า
29.เหล็กลำกล้องปืนที่ยิงคนตาย
30.ตะปูสังฆวานร
31.บาตรพระเก่า
32.เหล็กน้ำพี้
33.เหล็กน้ำลี้
33.ชนวนทองล้น หล่อพระประทาน
34.เหล็กช่อฟ้าอุโบสถ
35.ยอดปลีฉัตรทองพระธาตุ
36.เหล็กเปียก
37.เหล็กตะแกรงเผาศพ
38.เหล็กดึงคอศพ
39.เหล็กพลิกศพ
40.ตะปูเผาผีตายโหง
41.กำไรสำริด
42.โซ่ตรวนนักโทษอุกฉกรรณ์
43.ปรอทดำ
44.แร่เจ้าน้ำเงิน
45.แร่บริสุทธิ์(สังกะสี)
46.เศษสะเก็ดฟ้าผ่า หรือ(ที่เรียกว่าขวานฟ้าผ่า)
47.ลูกกระสุนปืนที่ยิงคนตาย
48.เหล็กกรงขัง
49.แร่เงินยวง
50.เหล็กแกนเจดีย์
51.เหล็กสมอเรือสำเภาโบราณ
52.กั่นพร้าหัก
53.โซ่ล่ามช้าง
54.ตราชั่งโบราณ
55.ขอบบาตร
56.ตะขอช้าง
57.กรีชทองแดง
58.ผานไถ
59.พญาร้อยคุ้ง
60.เหล็กปอฉ้อ
61.เหล็กฐานเทียนชัย
62.เหล็กไอ้ใบ้
63.เหล็กเที่ยงตรง
64.เหล็กแกะ
65.เหล็กไตรภพ
66.เหล็กลูกปืนใหญ่โบราณ
67.เหล็กหล่อบ่อพระขรรค์
68.เหล็กใบเลื่อย
69.ธาตุทองเหลือง
70.เหล็กเตารีดโบราณ
71.ขวานเหล็กโบราณ
72.กาน้ำชาเหล็กโบราณ
73.ทั่งเหล็กโบราณ
74. กล่องเหล็กโบราณ
75. กุญแจเหล็กโบราณ
76.เหล็กเกราะโบราณ
77.เคี่ยวเกี่ยวข้าวโบราณ
และบรรจุมวลสารอาถรรพ์ 77 ชนิด

คัมภีร์มหาศาสตราคม หาเหล็กสําหรับทํามีดตามที่ระบุไว้ ในคัมภีร์มหาศาสตราคมมาจนครบถ้วนคือ
เอาเหล็กยอดพระเจดีย์มหาธาตุ ยอดประสาททวารามาประสม
เหล็กขนันผีพรายตายทั้งกลม เหล็กตรึงโลงตรึงปั้นลมสลักเพชร
หอกสําฤทธิ์กริชทองแดงพระแสงหัก เหล็กปฏักสลักประตูตาปูเห็ด
พร้อมเหล็กเบญจพรรณกัลเม็ด เหล็กบ้านพร้อมเสร็จทุกสิ่งแท้
เอาเหล็กไหลเหล็กหล่อบ่อพระแสง เหล็กกําแพงนําพี้ทั้งเหล็กแร่
ทองคําสําฤทธิ์นากอะแจ เงินที่แท้ธาตุเหล็กทองแดงคง
            ยังได้รวมด้วยเหล็กสารพัดบิ่น สารพัดหักอีกร้อยแปดชนิดมาร่วมด้วย เมื่อได้เหล็กมาพร้อมแล้ว จึงตั้งมณฑลพิธีล้อมด้วยราชวัฏฉัตรธงทั้ง๔ มุม ตรงกลางตั้งพิธีดาดด้วยผ้าขาว ลงยันต์เพดานทั้งหน้าหลัง แล้วหาเครื่องกระยาสังเวย สําหรับบูชาเทพยดาอารักษ์และครูบาอาจารย์ผู้ประสิทธิ์ประสาท อันประกอบด้วยมัจฉะมังษาหาร ๖ ประการ พร้อมเครื่องกระยาบวช ขนมแห้ง ขนมหวานอีกผลไม้ ๙ อย่าง เทียนเงินเทียนทองหนัก ๔ บาท ๑ คู่ เมื่อได้วันดีคือวันเสาร์ขึ้น ๑๕ คํา จึงบูชาครูบาอาจารย์และเทพยดาฟ้าดิน จึงเริ่มพิธีตีดาบขึ้นทันที
            เอาสูบทั่งตั้งไว้ในพิธี เอาถ่านที่ต้องย่างวางในนั้น ช่างเหล็กมีฝีมือลือทั้งกรุง ผ้าขาวนุ่งผ้าขาวห่มดูคมสัน วงสายสิญจ์เศกลงเลขยันต์ คนสําคัญคอยดูซึ่งฤกษ์ดี ครั้นได้พิชัยฤกษ์ราชฤทธิ์ พระอาทิตย์เที่ยงฤกษ์ราชสีห์ ขุนแผนสูบเหล็กให้แดงดี นายช่างตีรีดรูปให้เรียวปลาย ที่ตรงกลางกว้างงามสามนิ้วกึ่ง ยาวหนึ่งศอกกํามาหน้าลูกไก่ เผาชุบสามแดงแทงตะไบ บัดเดี๋ยวใจเกลี้ยงพลันเป็นมันยับแล้ว
ลงกั่นดาบข้างแบน ด้วยคาถาบารมีพระพุทธเจ้าคือ
อายันตุโภนโต อิธะทานะ สีละเนกขัมมะ ปัญญา สะหะวิริยะขันติ
สัจจาธิฎฐานะเมตตุเปกขา ยุทธายะโว คัณหะถะอาวุธานิ
ลงกั่นดาบด้านสัน ด้วยพระคาถาหัวใจพระยาสมาสดังนี้
นานามุสะระ หะระ บัพพะตะคะรุ กะลิงคะระ
สะระธนู คะทาสิโต มาระหัตถา มาระคะนา
เอาทองแดงที่ใช้สําหรับห่อหุ้มกั่นดาบมาลงถมด้วยพระคาถา นวหรคุณ ๑๐๘ คาบ
อะสังวิสุโลปุสะพุภะ
แล้วลงถมด้วยพระคาถาต่างอีก พระคาถาพุทธนิมิตร์ ลงถม ๙ คาบ
พุทธัสสะ อิธิพุทธัสสะ พุทธะนิมิตตัง ปฏิมานะพุทโธ
ธาตุพุทโธ นิมิตตะพุทโธ กายะพุทโธ สูญญะพุทโธ
เอคะตานัง กายะรูปะสูญยัง พุทธะนิมิตตัง อิทธิฤทธิ์พุทธะ
นิมิตตังลงถมอีก ๙ คาบด้วยคาถา
อะสิ สัตติ ธนูเจวะ สัพเพ เต อาวุทธานิ จะ
ภัคคะภัคคา วิจุณณานิ โลมังมาเมนะผุสสันติ
ตามด้วยคาถาพรหมสี่หน้าลงถมอีก ๙ คาบ ว่า
 สหัสสะสีเส ปิเจโปโส สีเสสีเส สะตังมุกขา มุกเข มุกเข
สะตังชิวหา ชีวะกัปโป มหิทธิโก นะสักโกติ จะวัณเณตุง
ตามด้วยคาถาลงถมอีก ๙ คาบ บารมี ๓๐ ทัศน์ ว่า
อิติปารมิตาติงสา อิติสัพพัญญูมาคะตา
อิติโพธิมนุปปัตโต อิติปิโสจะเตนะโม
ลงถมด้วยคาถามงกุฏพระพุทธเจ้า ๙  คาบ ว่า
อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
อิเมนาพุทธะตังโสอิอิโสตังพุทธะปิติอิ
และตามด้วยอรหันต์ ๘ ทิศ ๙ คาบ ว่า
                                    อิระชาคะตะระสา ติหังจะโตโรถินัง
                                    ปิสัมระโลปุสัตพุท โสมาณะกะริถาโธ
                                    ภะสัมสัมวิสะเทภะ คะพุทปันทูทัมวะคะ
                                    วาโธโนอะมะมะวา อะวิสุนุสานุติ
 แล้วตามด้วย คาถา ๙ คาบ
พุทธังกันตัง ธัมมังกันตัง สังฆังกันตัง
พุทธังสิทธิ ธัมมังสิทธิ สังฆังสิทธิ
 แล้วลงถมตามด้วยคาถา ๙ คาบ
                                    นะผุด ผัดผิด ปฏิเสวามิ
แล้วจึงลงประทับด้วยคาถานี้อีกครั้งหนึ่งว่า
สัตถาธะนุง อากัตถิตุง ทัตวา วิสัชเชตุง นาทาสิ
( บทนี้เมื่อลงให้ผ่อนลมหายใจออกลงจบเดียว )
กัณหะเนหะ หายใจเข้าพุทธังปัจจุขาด
ธัมมังปัจจุขาด สังฆังปัจจุขาด
( หายใจเข้าออก สลับกันไปทีละบท )
 สําหรับแผ่นทองแดงด้านหลังนั้นลงประทับด้วยพระคาถานี้
 อะระหัง สุคะโต ภะคะวา
ลงถม ๙ คาบแล้วตามด้วย
นะโมพุทธายะ อิติปาระมิตาติงสา โนวะปะตานุภาเวนะ
มาระเสนา อะติกกันตา มาระนิทรา ทัสสะปาระมิตา
ทะมาระนิทรา ปาระชังฆานิทรา ทัสสะปาระมิตา โลหะกันตา
นามะเตนะโม มาตาปิตุพุทธะคุณัง สัพพะสัตรูวิธังเสนตุ
อะเสสะโต เอวังทัสสะวัณโณ ปฏิฐิตัง จักรวาฬะ
สัพพะสัตตานุภาเวนะ มาราโมระอะติกกันตา
ทัสสะพรหมมานุภาเวนะ สัพพะสัตรูวินาสสันติ
เมื่อลงทองแดงห่อกั่นดาบแล้ว จึงเอาเกสร ๑๐๘ และยามุกใหญ่มาบดให้ละเอียด เพื่อบรรจุในด้าม (ยามุกใหญ่คือยาสารพะดอย่าง ) หินซึ่งใช้บดยานั้นลงด้วยพระคาถา มหาโสฬสมงคล ลงถม๙ คาบ ตามด้วยคาถาหัวใจพระธรรมเจ็ดคําภีร์๙ คาบ คาถาพรหมสี่หน้า ๙ คาบ คาถาพุทธนิมิต ๙ คาบคาถาพระเจ้า ๑๖ พระองค์ ๙ คาบคาถาอะระหันต์ ๘ ทิศ ๙ คาบคาถาบารมี ๓๐ ทัศน์ ๙ คาบ คาถาหัวใจสนธิ งะญะนะมะ ๙ คาบ คาถาพระกรณีย์ จะภะกะ๙ คาบ ขณะบดยาให้ภาวนาพระคาถานี้
งะญะนะมะ จะภะกะสะ นะมะพะทะ
อะระหังสุคะโตภะคะวา  อิกะวิติ
อิสวาสุ สุสวาอิ นะโมพุทธายะ
อะสังวิสุโลปุสะพุภะ ปะติลิยะติ
พุทธังสิทธิ ธัมมังสิทธิ สังฆังสิทธิ
จนกว่าจะบดยาเสร็จด้ามมีดให้ใช้ไม้ ชัยพฤกษ์ แกะเป็นรูปท้าวเวสสุวรรณ เขียนคาถาเป็นตัวเลข ลงที่องค์ท่าน
ลงเลข ๓ ตรีนิสิงเหที่ปากท้าวเวสสุวรรณ ว่าด้วยสูตรคือ
                                    มะอะอุตรีนิสิงเห
ลงเลข ๗ ที่ตาทั้งสองของท่านว่าสูตร
                                    สะธะวิปิปะสะอุสัตตะนาเค
ลงเลข ๕ ที่อกของท่านว่า
อาปามะจุปะปัญจะเพชรฉลูกัญเจวะ
ลงเลข ๔ ที่หัวไหล่ทั้งสองของท่านว่า
นะมะพะทะจัตตุเทวา
ลงเลข ๖ ที่ขาทั้งสองของท่านว่า
อิสวาสุฉอวัชชะราชา
ลงเลข ๕ ที่ด้านหลังท่านว่า
ทีมะสังอังขุปัญจะ อินทรานะเมวะจะ
ลงเลข ๑ ที่ตาตุ่มทั้งสองข้างว่า
มิเอกะยักขา
ลงเลข ๙ ที่ศรีษะท่านว่า
อะสังวิสุโลปุสะพุภะนวะเทวา
ลงเลข ๕ ที่แขนซ้ายว่า
                                    สหะชะตะตรีปัญจะพรหมาสะหะบดี
ลงเลข ๕ ที่แขนขวาว่า
                                    นะโมพุทธายะ ปัญจะพุทธานะมามิหัง
ลงเลข ๒ ที่ศอกทั้งสองข้างว่า
                                    พุทโธทะเวราชา
ลงเลข ๘ ที่สะโพกทั้งสองข้างว่า
เสพุเสวะเสตะอะเส อัฏฐะอะระหันตา
ใช้พระคาถาท้าวเวสสุวรรณลงด้ามมีดให้ทั่วว่า
เวสสุวรรโณมหาราชา สัพเพเทวาเสเจวะ
อาฬะวะกาทะโย ปิจะขัคคัง ตาละปัตตัง
ทิสวา สัพเพยักขา ปะลายันติ
เวสสุวรรโณมหาราชา จัตตุโลกะปาลายัสสะสิโน
อิติภูตา มหาภูตา สัพเพยักขาปะลายันติ
ลงกระบองท้าวเวสสุวรรณด้วย
            นะโมพุทธายะ
จบคัมภีร์มหาศาสตราคม
22  ห้องพระ / พระคณาจารย์อริยสงฆ์ทั่วประเทศ / Re: หลวงปู่สว่าง โพธิญาโณ ศิษย์ปรมาจารย์ปู่สมเด็จลุน เมื่อ: 10 กรกฎาคม 2565, 15:22:14
จุดเริ่มต้นสายธรรมอุตฺตโมบารมี

      พระไชยเชษฐาธิราชที่ 2 หรือ พระไชยองค์เว้ ประสูติ พ.ศ.2228 เป็นพระราชโอรสของเจ้าชมพู ที่ถูกเนรเทศไปอยู่เมืองเว้
พระองค์ได้ครองราชย์สมบัติ เมื่อ พ.ศ. 2245 ทรงตั้งให้เจ้าองค์ลอง พระอนุชาต่างบิดาเป็นอุปราชและไปครองเมืองหลวงพระบาง
และอัญเชิญพระบางมาประดิษฐานที่เวียงจันทน์
      ต่อมาใน พ.ศ. 2249 เจ้ากิ่งกิสราชซึ่งเป็นพระโอรสของเจ้าราชบุตร และเป็นหลานปู่ของพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช
ที่ลี้ภัยไปอยู่สิบสองปันนากับเครือญาติฝ่ายพระมารดา ได้ยกทัพลงมาตีเมืองหลวงพระบาง เจ้าลองสู้ไม่ได้ แตกพ่ายลงมาเวียงจันทน์
เจ้ากิ่งกิสราชยกทัพตามลงมาที่เวียงจันทน์ พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 2 จึงขอกองทัพจากกรุงศรีอยุธยามาช่วย
      สมเด็จพระเพทราชา กษัตริย์กรุงศรีอยุธยาในขณะนั้น ได้ยกทัพขึ้นมาและไกลเกลี่ยให้ทั้งสองฝ่ายประนีประนอมกัน
โดยให้แบ่งเขตแดนระหว่างหลวงพระบางกับเวียงจันทน์ ให้เจ้ากิ่งกิสราชครองหลวงพระบาง ให้พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 2 ครองเวียงจันทน์
ทั้งสองกษัตริย์ตกลงแบ่งเขตแดนกันโดยใช้แม่น้ำเหืองเป็นแดนทางฝั่งขวา ทางฝั่งซ้ายใช้เทือกเขาภูชนะคามเป็นเขตแดน
แคว้นสิบสองจุไทกับหัวพันห้าทั้งหกขึ้นกับหลวงพระบาง แคว้นเชียงขวางและแคว้นที่อยู่ใต้ลงมาให้ขึ้นกับเวียงจันทน์ การแบ่งเขตแดนนี้เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2250
      หลังจากสิ้นสุดสงครามกับพระเจ้ากิ่งกิสราช พระองค์ได้เร่งปรับปรุงการปกครองหัวเมือง ส่งคนที่ไว้ใจได้ไปปกครองเมืองที่สำคัญ
ทำให้กลุ่มของ องค์ที่ 1 พระครูยอดแก้วโพนสะเม็ก ต้องอพยพลงใต้ไปหาที่มั่นใหม่ ในที่สุดได้ไปตั้งมั่นที่เมืองจำปาศักดิ์ และแยกตัวเป็นอิสระจากเวียงจันทน์ใน พ.ศ. 2256 ในสมัยนี้ยังมีการบูรณปฎิสังขรณ์พระธาตุพนมศึกษาเล่าเรียน
จนกลายเป็นแหล่งเรียนรู้ในสมัยนั้นเรื่อยมาจนถึง พ.ศ.2280
      ต่อมา พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 2 ครองราชย์จนถึง พ.ศ. 2273 จึงสิ้นพระชนม์ จากนั้น เจ้าลองพระอนุชาได้ขึ้นครองราชย์สืบแทน
      องค์ที่ 2 เจ้าองค์ลอง (สวรรคตใน พ.ศ. 2283) เป็นเจ้าผู้ครองอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ ลำดับที่ 2 (พ.ศ. 2273 – 2283) พระราชโอรสในพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 2
      องค์ที่ 3 พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 3 หรือ พระเจ้าศิริบุญสาร เป็นเจ้าผู้ครองอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ ลำดับที่ 4 (พ.ศ. 2294 - พ.ศ. 2322) พระราชโอรสในเจ้าองค์ลอง, เสียเอกราชแก่สยามในปี พ.ศ. 2322
      องค์ที่ 4 พระเจ้านันทเสน เป็นเจ้าผู้ครองอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ ลำดับที่ 5 (พ.ศ. 2325 - พ.ศ. 2337) พระราชโอรสในพระเจ้าศิริบุญสาร
      องค์ที่ 5 พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 4 หรือ พระเจ้าอินทวงศ์ เป็นเจ้าผู้ครองอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ ลำดับที่ 6 (พ.ศ. 2337 - พ.ศ. 2348) พระราชสมภพเมื่อใดไม่ปรากฏ และสวรรคตเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2348 ทรงเป็นพระราชอนุชาในพระเจ้านันทเสน, พระบรมอัยกาธิราชในสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี ในรัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
      ต่อมาพระธรรมราชาเจ้าเมืองศรีโคตรบูรณ์องค์สุดท้าย ได้ย้ายเมืองมาตั้งบนฝั่งขวา (ฝั่งไทย) เยื้องเมืองเก่าไปทางเหนือแล้วขนานนามเมืองใหม่ว่า เมืองนคร
จากนั้นมีการโยกย้ายชุมชนเมืองอีกหลายครั้ง พ.ศ.2321 ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ได้มีการย้ายเมืองมาตั้งที่บ้านหนองจันทร์
ห่างขึ้นไปทางเหนือ 52 กิโลเมตร ในปี พ.ศ. 2333 รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
เมืองนครก็ได้ขอขึ้นตรงต่อกรุงเทพมหานคร โดยพระองค์ทรงพระราชทานนามใหม่ขึ้นว่า นครพนม ชื่อนครพนมนั้น
      ต่อมา วัดพระธาตุพนม จึงได้มีเจ้าอาวาสนาม องค์ที่ 6 พระครูพรหมา (เจ้าอาวาสพระธาตุพนม องค์ที่ 4) ผู้เก็บรักษาตำราใบลานของเจ้าราชครูหลวงโพนสะเม็ก พ.ศ. 2335 – 2410
      หลังจากนั้น องค์ที่ 7 ปรมาจารย์ใหญ่ญาถ่านอุตตมะ ในราวปี 2335 (อุปัชญาย์สำเด็จลุน มีศักดิ์เป็นหลวงอา และเป็นผู้ก่อตั้งสายอุตฺตมะอุตฺตโม ปัจจุบันได้เปลี่ยนเป็น สายธรรมอุตฺตโมบารมี เริ่มไหว้ครูธรรมใหญ่ครั้งแรก ปี 2405) ท่านได้ธุดงค์เพื่อไปกราบพระธาตุพนม จากนั้นจึงเข้าไปกราบพระครูพรหมา เพื่อได้ขอศึกษาตำราใบลาน
      ต่อมาปรมาจารย์ใหญ่ญาถ่านอุตตมะ ได้ย้ายมาจากฝั่งขวาแม่น้ำโขง มาสร้างวัดสิงหาญ ราว พ.ศ.2345 โดยญาท่านอุตตะมะ (อุต) เป็นผู้ก่อตั้ง มีความเป็นมากล่าวคือ ญาถ่านอุตตะมะ ได้ย้ายมาจาก ฝั่งขวาแม่น้ำโขงไม่ทราบได้ว่าบ้านใหน ได้บวชเป็นพระและได้เดินทางมาบ้านสะพือ ชาวบ้านจึงได้นิมนต์ท่านให้อยู่จำพรรษที่บ้านสะพือ ญาถ่านอุต ท่านจึงได้บอกว่าถ้าจะให้จำพรรษอยู่ที่บ้านสะพือนี้ ก็จะเอาพ่อแม่มาด้วย ชาวบ้านจึงได้ตกลง ท่านจึงอพยพครอบครัวมา ตั้งถิ่นฐานอยู่ที่บ้านสะพือ ชาวบ้านได้จัดสรรที่ทำมาหากินให้มีไร่นาสวนพออยู่พอกิน ส่วนญาถ่านอุตนั้นได้ตั้งสำนักสงฆ์ ขึ้นอยู่ที่ป่าทางทิศให้ห่างจากหมู่บ้านประมาณ 1 กิโลเมตร ชื่อ "วัดศรีสุมัง"  ( ปัจจุบันได้ขุดเป็นสระน้ำสาธารณะ ชาวบ้านเรียก สระโนนวัด เพราะเคยเป็นวัดมาก่อน ) แต่ชาวบ้านเห็นว่าการนำภัตราหารเช้า,เพลไปถวายลำบาก เนื่องจากอยู่ไกลหมู่บ้าน จึงได้ย้ายวัดมาตั้งใหม่ที่ริมหมู่บ้านทางทิศใต้ (ที่ตั้งวัดในปัจจุบัน) ชาวบ้านได้ช่วยกันถากถาง สร้างกุฎิให้พระอยู่อาศัย ญาถ่านอุต จึงได้ย้ายมาจำพรรษาอยู่ที่นี่ ราว พ.ศ.2345 เรียกชื่อวัดนี้ว่า "วัดสิงหาญ" จนถึงปัจจุบัน
      หลังจากนั้นองค์ที่ 8 ปรมาจารย์ญาถ่านสำเร็จลุน อุปสมบทเป็นพระรุ่นราวคราวเดียวกันกับ “หลวงปู่สีดา” ซึ่งเป็นพระอุปัชฌาย์ของหลวงปู่โทน โดยมี “ปรมาจารย์ใหญ่ญาถ่านอุตตมะ” แห่งวัดสิงหาญ บ้านสะพือ ตำบลสะพือ อำเภอตระการพืชผล ซึ่งมีศักดิ์เป็น หลวงอาของปรมาจารย์ญาถ่านสำเร็จลุน ได้นำหลานชายชื่อ ลุน มาอุปสมบทและให้ศึกษาเล่าเรียนอักษรสมัย ทั้งอักษรขอมและอักษรธรรม พระธรรมวินัยการปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานควบคู่กันไป รวมทั้งหลวงปู่สีดาและลูกศิษย์อื่น ๆ ด้วย
      ปรมาจารย์ใหญ่ญาถ่านอุตตมะ ถือว่าเป็นพระปรมาจารย์ใหญ่รุ่นแรกในสมัยนั้น เชื่อถือกันว่าเป็นผู้เรืองฤทธิ์ มีตำรายา ตำราเวทมนต์ คาถาอาคม มีวัตรปฏิบัติที่น่าเคารพเลื่อมใสมาก ท่านปรมาจารย์ใหญ่ญาถ่านอุตตมะ เป็นผู้หนึ่งที่ได้รับการศึกษาตำราใบลาน จากพระครูพรหมา เจ้าอาวาสพระธาตุพนม องค์ที่ 4 ผู้เก็บรักษาตำราใบลานของเจ้าราชครูหลวงโพนสะเม็ก ซึ่ง “หลวงปู่โทน” ก็ได้สืบทอดสรรพวิชาเหล่านี้มาส่วนหนึ่ง ปรมาจารย์ใหญ่ญาถ่านอุตตมะสังเกตลูกศิษย์คนสำคัญทั้งสองว่ามีวัตรปฏิบัติแตกต่างกัน โดยที่หลวงปู่สีดามีความขยันขันแข็ง ช่วยกิจการงานวัดทุกอย่างมิได้ขาด
     ต่อมาศิษย์รุ่นแรกจะ เรียกว่า สายอุตฺตมะอุตฺตโม ความเป็นมาพิธีกรรมไหว้ครูธรรมใหญ่สายอุตฺตมะอุตฺตโม ในทุกปีจะมีการทำพิธีกรรมไหว้ผีไท้หรือผีเชื่อสาย พร้อมกับพิธีไหว้ครูธรรมใหญ่ที่ต้องจัดขึ้นทุกปี ญาถ่านสว่าง โพธิญาโณ เล่าว่า ญาถ่านสำเร็จตัน บอกกับท่านว่า พิธีกรรมไหว้ครูธรรมใหญ่เท่าที่ท่านจำได้ว่า น่าจะเริ่มมีการจัดในสมัยที่ปรมาจารย์ใหญ่ญาถ่านอุตตมะ ผู้เป็นอาจารย์ของสำเร็จลุน เจ้าอาวาส วัดสิงหาญ ต.สะพือ อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี พ.ศ.2345-2395 ก่อนท่านมรณะ 10 ปี ก็จะอยู่ในช่วงปี พ.ศ.2405 และเป็นช่วงของญาถ่าน(สำเร็จ)สีดา เจ้าอาวาส พ.ศ.2395-2450 เพราะญาถ่านสำเร็จตัน  จำได้ว่าตรงกับวันสำคัญ คือ วันพระราชสมภพ เจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 9 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ (เจ้าเจ็ดตน) ซึ่งเป็นองค์สุดท้ายแห่งนครเชียงใหม่ พ.ศ.2405 จะอยู่ในช่วงนี้ ดังนั้นการหาวันพิธีกรรมไหว้ครูธรรมใหญ่ปีนั้นจึงมีความง่ายมาก เพราะครูบาอาจารย์ได้ให้ลูกศิษย์ใช้ วันที่ขึ้น 3 ค่ำ เดือนสาม ของทุกปีจัดพิธีกรรมไหว้ครูธรรมใหญ่ จึงสามารถสรุปวันพิธีกรรมไหว้ครูธรรมใหญ่ ทั้งแรกคือ วัน อาทิตย์ ที่ 2 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2405 ขึ้น ๓ ค่ำเดือนสาม(๓) ปีระกา นับจากนั้นมาจึงเริ่มมีการทำพิธีไหว้ครูธรรมใหญ่อย่างเป็นทางการ
     ส่วนองค์ที่ 9 ญาถ่านสว่าง โพธิญาโณ ได้เล่าให้ลูกหลานฟังว่า สมัยนั้นท่านยังไม่ข้ามมาฝังไทย ยังธุดงปฏิบัติกรรมฐานตามป่าเขาในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เพื่อไปฝากตัวเล่าเรียนอาคมกับปรมาจารย์ญาถ่านสำเร็จลุน ราวปี พ.ศ.2443 จึงมีโอกาสได้เจอกับหลวงปู่จันทร์หอม สุภาทโร ผู้เป็นหลานของญาถ่านสำเร็จตัน  ต่อมาญาถ่านสว่าง โพธิญาโณ ก็ได้ฝากตัวเป็นศิษย์ปรมาจารย์ญาถ่านสำเร็จลุน หลังจากนั้นท่านจึงให้ญาถ่านสำเร็จตัน ทำหน้าที่เป็นพระพี่เลี้ยงดูแลการศึกษาตำรายา ตำราเวทมนต์ คาถาอาคม ต่างๆ ร่วมกับหลวงปู่จันทร์หอม สุภาทโร จนศึกษาจบทุกอย่าง ญาถ่านสว่าง โพธิญาโณจึงขอเดินทางออกธุดงไปยังที่ต่างๆ
     หลังจากนั้นปรมาจารย์ญาถ่านสำเร็จลุน ขณะจำพรรษาที่วัดเวินไซ บ้านเวินไซ เมืองโพนทอง แขวงนครจำปาศักดิ์ ประเทศลาว ได้อาพาธหนักแล้วได้มรณภาพในปี พ.ศ.2463 ต่อมาญาถ่านสำเร็จตัน จึงแจ้งข่าวงานศพปรมาจารย์ญาถ่านสำเร็จลุนไปยังญาถ่านสว่าง โพธิญาโณ ท่านก็ได้เดินทางมาร่วมงานจนเสร็จ ญาถ่านสำเร็จตัน จึงได้แบ่งเกษา อิฐิ บ้างส่วนให้ญาถ่านสว่าง โพธิญาโณติดตัว ต่อมาญาถ่านสว่าง โพธิญาโณได้เดินทางข้ามมาฝั่งประเทศไทยในปี พ.ศ.2513 มาอยู่ที่วัดสนามชัย ได้นำเอาตำราใบลานที่ได้รับการคัดลอกจากปรมาจารย์ญาถ่านสำเร็จลุน ข้ามมายังฝั่งไทยด้วย หลังจากนั้นไม่นานเกิดปัญหาภายในประเทศลาวเมื่อ พ.ศ.2518 พี่น้องทางประเทศลาวจึงข้ามมาฝังไทยเป็นจำนวนมาก
     ต่อมาเมื่อพี่น้องลูกศิษย์ที่เล่าเรียนสายอุตฺตมะอุตฺตโม รู้ข่าวว่าญาถ่านสว่าง โพธิญาโณ มาจำพรรษาอยู่อำเภอเขมราฐ ก็ต่างพากันกราบนมัสการ แล้วปรึกษาเรื่องการจัดงานไหว้ครูธรรมใหญ่ให้ต่อเนื่อง ต่อมาญาถ่านสว่าง โพธิญาโณ ท่านไม่ต้องการให้นำเอาชื่อ ปรมาจารย์ใหญ่ญาถ่านอุตตมะ มาเป็นชื่อเรียกใน สายอุตฺตมะอุตฺตโม จึงให้ตัดคำว่า อุตฺตมะ ออกจากคำเรียก ให้เปลี่ยนเป็นชื่อ สายธรรมอุตฺตโมบารมี ในราวปี พ.ศ.2529 นับจากนั้นมาจึงใช้ชื่อ สายธรรมอุตฺตโมบารมี ตลอดมา
     เมื่อญาถ่านสว่าง โพธิญาโณ เริ่มมีอาการป่วย จึงได้มอบตำราใบลานให้ฆราวาสครูธรรมใหญ่รินทอง สนธิหา ผู้สืบทอดรุ่นที่ 1 ได้ดูแลเก็บรักษาต่อไป ให้ศิษย์รุ่นต่อไปได้ศึกษาเล่าเรียนไม่ให้สูญหาย และมอบเกษา อัฐิ ปรมาจารย์ญาถ่านสำเร็จลุน ไว้ด้วย หลังจากนั้นคณะครูธรรมใหญ่จึงอันเชิญ ญาถ่านทา นาควัณโณ เป็นผู้สืบทอดรุ่นที่ 2 เมื่อญาถ่านทา นาควัณโณ ต่อมาฆราวาสครูธรรมใหญ่รินทอง สนธิหา ผู้สืบทอดรุ่นที่ 1 ได้ถึงแก่กรรม ทางคณะศิษย์จึงเชิญฆราวาสครูธรรมใหญ่ทองพลู กอมณี ขึ้นเป็นผู้สืบทอดรุ่นที่ 2 เมื่อครูธรรมใหญ่ทองพลู กอมณี 
      ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.2558 องค์ที่ 9 ญาถ่านทา นาควัณโณ เป็นผู้สืบทอดรุ่นที่ 2 และฆราวาสครูธรรมใหญ่ทองพลู กอมณี ผู้สืบทอดรุ่นที่ 2 เริ่มแก่ชราจึงได้มอบหมายให้ องค์ที่ 10 ญาถ่านเบิ้ม อุตฺตโม เป็นผู้สืบทอดเป็นรุ่นที่ 3 พร้อมฆราวาสครูธรรมใหญ่เวด สีจันทะวง ขึ้นเป็นผู้สืบทอดรุ่นที่ 3 จนถึงปัจจุบัน
 
23  ห้องพระ / พระคณาจารย์อริยสงฆ์ทั่วประเทศ / Re: ประวัติ พระอาจารย์สมศักดิ์ อุตฺตโม(ญาถ่านเบิ้ม)วัดวังม่วง อ.เขมราฐ จ.อุบลราชธานี เมื่อ: 10 กรกฎาคม 2565, 15:21:30
จุดเริ่มต้นสายธรรมอุตฺตโมบารมี

      พระไชยเชษฐาธิราชที่ 2 หรือ พระไชยองค์เว้ ประสูติ พ.ศ.2228 เป็นพระราชโอรสของเจ้าชมพู ที่ถูกเนรเทศไปอยู่เมืองเว้
พระองค์ได้ครองราชย์สมบัติ เมื่อ พ.ศ. 2245 ทรงตั้งให้เจ้าองค์ลอง พระอนุชาต่างบิดาเป็นอุปราชและไปครองเมืองหลวงพระบาง
และอัญเชิญพระบางมาประดิษฐานที่เวียงจันทน์
      ต่อมาใน พ.ศ. 2249 เจ้ากิ่งกิสราชซึ่งเป็นพระโอรสของเจ้าราชบุตร และเป็นหลานปู่ของพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช
ที่ลี้ภัยไปอยู่สิบสองปันนากับเครือญาติฝ่ายพระมารดา ได้ยกทัพลงมาตีเมืองหลวงพระบาง เจ้าลองสู้ไม่ได้ แตกพ่ายลงมาเวียงจันทน์
เจ้ากิ่งกิสราชยกทัพตามลงมาที่เวียงจันทน์ พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 2 จึงขอกองทัพจากกรุงศรีอยุธยามาช่วย
      สมเด็จพระเพทราชา กษัตริย์กรุงศรีอยุธยาในขณะนั้น ได้ยกทัพขึ้นมาและไกลเกลี่ยให้ทั้งสองฝ่ายประนีประนอมกัน
โดยให้แบ่งเขตแดนระหว่างหลวงพระบางกับเวียงจันทน์ ให้เจ้ากิ่งกิสราชครองหลวงพระบาง ให้พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 2 ครองเวียงจันทน์
ทั้งสองกษัตริย์ตกลงแบ่งเขตแดนกันโดยใช้แม่น้ำเหืองเป็นแดนทางฝั่งขวา ทางฝั่งซ้ายใช้เทือกเขาภูชนะคามเป็นเขตแดน
แคว้นสิบสองจุไทกับหัวพันห้าทั้งหกขึ้นกับหลวงพระบาง แคว้นเชียงขวางและแคว้นที่อยู่ใต้ลงมาให้ขึ้นกับเวียงจันทน์ การแบ่งเขตแดนนี้เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2250
      หลังจากสิ้นสุดสงครามกับพระเจ้ากิ่งกิสราช พระองค์ได้เร่งปรับปรุงการปกครองหัวเมือง ส่งคนที่ไว้ใจได้ไปปกครองเมืองที่สำคัญ
ทำให้กลุ่มของ องค์ที่ 1 พระครูยอดแก้วโพนสะเม็ก ต้องอพยพลงใต้ไปหาที่มั่นใหม่ ในที่สุดได้ไปตั้งมั่นที่เมืองจำปาศักดิ์ และแยกตัวเป็นอิสระจากเวียงจันทน์ใน พ.ศ. 2256 ในสมัยนี้ยังมีการบูรณปฎิสังขรณ์พระธาตุพนมศึกษาเล่าเรียน
จนกลายเป็นแหล่งเรียนรู้ในสมัยนั้นเรื่อยมาจนถึง พ.ศ.2280
      ต่อมา พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 2 ครองราชย์จนถึง พ.ศ. 2273 จึงสิ้นพระชนม์ จากนั้น เจ้าลองพระอนุชาได้ขึ้นครองราชย์สืบแทน
      องค์ที่ 2 เจ้าองค์ลอง (สวรรคตใน พ.ศ. 2283) เป็นเจ้าผู้ครองอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ ลำดับที่ 2 (พ.ศ. 2273 – 2283) พระราชโอรสในพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 2
      องค์ที่ 3 พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 3 หรือ พระเจ้าศิริบุญสาร เป็นเจ้าผู้ครองอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ ลำดับที่ 4 (พ.ศ. 2294 - พ.ศ. 2322) พระราชโอรสในเจ้าองค์ลอง, เสียเอกราชแก่สยามในปี พ.ศ. 2322
      องค์ที่ 4 พระเจ้านันทเสน เป็นเจ้าผู้ครองอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ ลำดับที่ 5 (พ.ศ. 2325 - พ.ศ. 2337) พระราชโอรสในพระเจ้าศิริบุญสาร
      องค์ที่ 5 พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 4 หรือ พระเจ้าอินทวงศ์ เป็นเจ้าผู้ครองอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ ลำดับที่ 6 (พ.ศ. 2337 - พ.ศ. 2348) พระราชสมภพเมื่อใดไม่ปรากฏ และสวรรคตเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2348 ทรงเป็นพระราชอนุชาในพระเจ้านันทเสน, พระบรมอัยกาธิราชในสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี ในรัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
      ต่อมาพระธรรมราชาเจ้าเมืองศรีโคตรบูรณ์องค์สุดท้าย ได้ย้ายเมืองมาตั้งบนฝั่งขวา (ฝั่งไทย) เยื้องเมืองเก่าไปทางเหนือแล้วขนานนามเมืองใหม่ว่า เมืองนคร
จากนั้นมีการโยกย้ายชุมชนเมืองอีกหลายครั้ง พ.ศ.2321 ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ได้มีการย้ายเมืองมาตั้งที่บ้านหนองจันทร์
ห่างขึ้นไปทางเหนือ 52 กิโลเมตร ในปี พ.ศ. 2333 รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
เมืองนครก็ได้ขอขึ้นตรงต่อกรุงเทพมหานคร โดยพระองค์ทรงพระราชทานนามใหม่ขึ้นว่า นครพนม ชื่อนครพนมนั้น
      ต่อมา วัดพระธาตุพนม จึงได้มีเจ้าอาวาสนาม องค์ที่ 6 พระครูพรหมา (เจ้าอาวาสพระธาตุพนม องค์ที่ 4) ผู้เก็บรักษาตำราใบลานของเจ้าราชครูหลวงโพนสะเม็ก พ.ศ. 2335 – 2410
      หลังจากนั้น องค์ที่ 7 ปรมาจารย์ใหญ่ญาถ่านอุตตมะ ในราวปี 2335 (อุปัชญาย์สำเด็จลุน มีศักดิ์เป็นหลวงอา และเป็นผู้ก่อตั้งสายอุตฺตมะอุตฺตโม ปัจจุบันได้เปลี่ยนเป็น สายธรรมอุตฺตโมบารมี เริ่มไหว้ครูธรรมใหญ่ครั้งแรก ปี 2405) ท่านได้ธุดงค์เพื่อไปกราบพระธาตุพนม จากนั้นจึงเข้าไปกราบพระครูพรหมา เพื่อได้ขอศึกษาตำราใบลาน
      ต่อมาปรมาจารย์ใหญ่ญาถ่านอุตตมะ ได้ย้ายมาจากฝั่งขวาแม่น้ำโขง มาสร้างวัดสิงหาญ ราว พ.ศ.2345 โดยญาท่านอุตตะมะ (อุต) เป็นผู้ก่อตั้ง มีความเป็นมากล่าวคือ ญาถ่านอุตตะมะ ได้ย้ายมาจาก ฝั่งขวาแม่น้ำโขงไม่ทราบได้ว่าบ้านใหน ได้บวชเป็นพระและได้เดินทางมาบ้านสะพือ ชาวบ้านจึงได้นิมนต์ท่านให้อยู่จำพรรษที่บ้านสะพือ ญาถ่านอุต ท่านจึงได้บอกว่าถ้าจะให้จำพรรษอยู่ที่บ้านสะพือนี้ ก็จะเอาพ่อแม่มาด้วย ชาวบ้านจึงได้ตกลง ท่านจึงอพยพครอบครัวมา ตั้งถิ่นฐานอยู่ที่บ้านสะพือ ชาวบ้านได้จัดสรรที่ทำมาหากินให้มีไร่นาสวนพออยู่พอกิน ส่วนญาถ่านอุตนั้นได้ตั้งสำนักสงฆ์ ขึ้นอยู่ที่ป่าทางทิศให้ห่างจากหมู่บ้านประมาณ 1 กิโลเมตร ชื่อ "วัดศรีสุมัง"  ( ปัจจุบันได้ขุดเป็นสระน้ำสาธารณะ ชาวบ้านเรียก สระโนนวัด เพราะเคยเป็นวัดมาก่อน ) แต่ชาวบ้านเห็นว่าการนำภัตราหารเช้า,เพลไปถวายลำบาก เนื่องจากอยู่ไกลหมู่บ้าน จึงได้ย้ายวัดมาตั้งใหม่ที่ริมหมู่บ้านทางทิศใต้ (ที่ตั้งวัดในปัจจุบัน) ชาวบ้านได้ช่วยกันถากถาง สร้างกุฎิให้พระอยู่อาศัย ญาถ่านอุต จึงได้ย้ายมาจำพรรษาอยู่ที่นี่ ราว พ.ศ.2345 เรียกชื่อวัดนี้ว่า "วัดสิงหาญ" จนถึงปัจจุบัน
      หลังจากนั้นองค์ที่ 8 ปรมาจารย์ญาถ่านสำเร็จลุน อุปสมบทเป็นพระรุ่นราวคราวเดียวกันกับ “หลวงปู่สีดา” ซึ่งเป็นพระอุปัชฌาย์ของหลวงปู่โทน โดยมี “ปรมาจารย์ใหญ่ญาถ่านอุตตมะ” แห่งวัดสิงหาญ บ้านสะพือ ตำบลสะพือ อำเภอตระการพืชผล ซึ่งมีศักดิ์เป็น หลวงอาของปรมาจารย์ญาถ่านสำเร็จลุน ได้นำหลานชายชื่อ ลุน มาอุปสมบทและให้ศึกษาเล่าเรียนอักษรสมัย ทั้งอักษรขอมและอักษรธรรม พระธรรมวินัยการปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานควบคู่กันไป รวมทั้งหลวงปู่สีดาและลูกศิษย์อื่น ๆ ด้วย
      ปรมาจารย์ใหญ่ญาถ่านอุตตมะ ถือว่าเป็นพระปรมาจารย์ใหญ่รุ่นแรกในสมัยนั้น เชื่อถือกันว่าเป็นผู้เรืองฤทธิ์ มีตำรายา ตำราเวทมนต์ คาถาอาคม มีวัตรปฏิบัติที่น่าเคารพเลื่อมใสมาก ท่านปรมาจารย์ใหญ่ญาถ่านอุตตมะ เป็นผู้หนึ่งที่ได้รับการศึกษาตำราใบลาน จากพระครูพรหมา เจ้าอาวาสพระธาตุพนม องค์ที่ 4 ผู้เก็บรักษาตำราใบลานของเจ้าราชครูหลวงโพนสะเม็ก ซึ่ง “หลวงปู่โทน” ก็ได้สืบทอดสรรพวิชาเหล่านี้มาส่วนหนึ่ง ปรมาจารย์ใหญ่ญาถ่านอุตตมะสังเกตลูกศิษย์คนสำคัญทั้งสองว่ามีวัตรปฏิบัติแตกต่างกัน โดยที่หลวงปู่สีดามีความขยันขันแข็ง ช่วยกิจการงานวัดทุกอย่างมิได้ขาด
     ต่อมาศิษย์รุ่นแรกจะ เรียกว่า สายอุตฺตมะอุตฺตโม ความเป็นมาพิธีกรรมไหว้ครูธรรมใหญ่สายอุตฺตมะอุตฺตโม ในทุกปีจะมีการทำพิธีกรรมไหว้ผีไท้หรือผีเชื่อสาย พร้อมกับพิธีไหว้ครูธรรมใหญ่ที่ต้องจัดขึ้นทุกปี ญาถ่านสว่าง โพธิญาโณ เล่าว่า ญาถ่านสำเร็จตัน บอกกับท่านว่า พิธีกรรมไหว้ครูธรรมใหญ่เท่าที่ท่านจำได้ว่า น่าจะเริ่มมีการจัดในสมัยที่ปรมาจารย์ใหญ่ญาถ่านอุตตมะ ผู้เป็นอาจารย์ของสำเร็จลุน เจ้าอาวาส วัดสิงหาญ ต.สะพือ อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี พ.ศ.2345-2395 ก่อนท่านมรณะ 10 ปี ก็จะอยู่ในช่วงปี พ.ศ.2405 และเป็นช่วงของญาถ่าน(สำเร็จ)สีดา เจ้าอาวาส พ.ศ.2395-2450 เพราะญาถ่านสำเร็จตัน  จำได้ว่าตรงกับวันสำคัญ คือ วันพระราชสมภพ เจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 9 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ (เจ้าเจ็ดตน) ซึ่งเป็นองค์สุดท้ายแห่งนครเชียงใหม่ พ.ศ.2405 จะอยู่ในช่วงนี้ ดังนั้นการหาวันพิธีกรรมไหว้ครูธรรมใหญ่ปีนั้นจึงมีความง่ายมาก เพราะครูบาอาจารย์ได้ให้ลูกศิษย์ใช้ วันที่ขึ้น 3 ค่ำ เดือนสาม ของทุกปีจัดพิธีกรรมไหว้ครูธรรมใหญ่ จึงสามารถสรุปวันพิธีกรรมไหว้ครูธรรมใหญ่ ทั้งแรกคือ วัน อาทิตย์ ที่ 2 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2405 ขึ้น ๓ ค่ำเดือนสาม(๓) ปีระกา นับจากนั้นมาจึงเริ่มมีการทำพิธีไหว้ครูธรรมใหญ่อย่างเป็นทางการ
     ส่วนองค์ที่ 9 ญาถ่านสว่าง โพธิญาโณ ได้เล่าให้ลูกหลานฟังว่า สมัยนั้นท่านยังไม่ข้ามมาฝังไทย ยังธุดงปฏิบัติกรรมฐานตามป่าเขาในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เพื่อไปฝากตัวเล่าเรียนอาคมกับปรมาจารย์ญาถ่านสำเร็จลุน ราวปี พ.ศ.2443 จึงมีโอกาสได้เจอกับหลวงปู่จันทร์หอม สุภาทโร ผู้เป็นหลานของญาถ่านสำเร็จตัน  ต่อมาญาถ่านสว่าง โพธิญาโณ ก็ได้ฝากตัวเป็นศิษย์ปรมาจารย์ญาถ่านสำเร็จลุน หลังจากนั้นท่านจึงให้ญาถ่านสำเร็จตัน ทำหน้าที่เป็นพระพี่เลี้ยงดูแลการศึกษาตำรายา ตำราเวทมนต์ คาถาอาคม ต่างๆ ร่วมกับหลวงปู่จันทร์หอม สุภาทโร จนศึกษาจบทุกอย่าง ญาถ่านสว่าง โพธิญาโณจึงขอเดินทางออกธุดงไปยังที่ต่างๆ
     หลังจากนั้นปรมาจารย์ญาถ่านสำเร็จลุน ขณะจำพรรษาที่วัดเวินไซ บ้านเวินไซ เมืองโพนทอง แขวงนครจำปาศักดิ์ ประเทศลาว ได้อาพาธหนักแล้วได้มรณภาพในปี พ.ศ.2463 ต่อมาญาถ่านสำเร็จตัน จึงแจ้งข่าวงานศพปรมาจารย์ญาถ่านสำเร็จลุนไปยังญาถ่านสว่าง โพธิญาโณ ท่านก็ได้เดินทางมาร่วมงานจนเสร็จ ญาถ่านสำเร็จตัน จึงได้แบ่งเกษา อัฐิ บ้างส่วนให้ญาถ่านสว่าง โพธิญาโณติดตัว ต่อมาญาถ่านสว่าง โพธิญาโณได้เดินทางข้ามมาฝั่งประเทศไทยในปี พ.ศ.2513 มาอยู่ที่วัดสนามชัย ได้นำเอาตำราใบลานที่ได้รับการคัดลอกจากปรมาจารย์ญาถ่านสำเร็จลุน ข้ามมายังฝั่งไทยด้วย หลังจากนั้นไม่นานเกิดปัญหาภายในประเทศลาวเมื่อ พ.ศ.2518 พี่น้องทางประเทศลาวจึงข้ามมาฝังไทยเป็นจำนวนมาก
     ต่อมาเมื่อพี่น้องลูกศิษย์ที่เล่าเรียนสายอุตฺตมะอุตฺตโม รู้ข่าวว่าญาถ่านสว่าง โพธิญาโณ มาจำพรรษาอยู่อำเภอเขมราฐ ก็ต่างพากันกราบนมัสการ แล้วปรึกษาเรื่องการจัดงานไหว้ครูธรรมใหญ่ให้ต่อเนื่อง ต่อมาญาถ่านสว่าง โพธิญาโณ ท่านไม่ต้องการให้นำเอาชื่อ ปรมาจารย์ใหญ่ญาถ่านอุตตมะ มาเป็นชื่อเรียกใน สายอุตฺตมะอุตฺตโม จึงให้ตัดคำว่า อุตฺตมะ ออกจากคำเรียก ให้เปลี่ยนเป็นชื่อ สายธรรมอุตฺตโมบารมี ในราวปี พ.ศ.2529 นับจากนั้นมาจึงใช้ชื่อ สายธรรมอุตฺตโมบารมี ตลอดมา
     เมื่อญาถ่านสว่าง โพธิญาโณ เริ่มมีอาการป่วย จึงได้มอบตำราใบลานให้ฆราวาสครูธรรมใหญ่รินทอง สนธิหา ผู้สืบทอดรุ่นที่ 1 ได้ดูแลเก็บรักษาต่อไป ให้ศิษย์รุ่นต่อไปได้ศึกษาเล่าเรียนไม่ให้สูญหาย และมอบเกษา อัฐิ ปรมาจารย์ญาถ่านสำเร็จลุน ไว้ด้วย หลังจากนั้นคณะครูธรรมใหญ่จึงอันเชิญ ญาถ่านทา นาควัณโณ เป็นผู้สืบทอดรุ่นที่ 2 เมื่อญาถ่านทา นาควัณโณ ต่อมาฆราวาสครูธรรมใหญ่รินทอง สนธิหา ผู้สืบทอดรุ่นที่ 1 ได้ถึงแก่กรรม ทางคณะศิษย์จึงเชิญฆราวาสครูธรรมใหญ่ทองพลู กอมณี ขึ้นเป็นผู้สืบทอดรุ่นที่ 2 เมื่อครูธรรมใหญ่ทองพลู กอมณี  
      ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.2558 องค์ที่ 9 ญาถ่านทา นาควัณโณ เป็นผู้สืบทอดรุ่นที่ 2 และฆราวาสครูธรรมใหญ่ทองพลู กอมณี ผู้สืบทอดรุ่นที่ 2 เริ่มแก่ชราจึงได้มอบหมายให้ องค์ที่ 10 ญาถ่านเบิ้ม อุตฺตโม เป็นผู้สืบทอดเป็นรุ่นที่ 3 พร้อมฆราวาสครูธรรมใหญ่เวด สีจันทะวง ขึ้นเป็นผู้สืบทอดรุ่นที่ 3 จนถึงปัจจุบัน
  
24  ห้องพระ / พระคณาจารย์อริยสงฆ์ทั่วประเทศ / Re: บรมครูใหญ่ สายธรรมอุตตโมบารมี เมื่อ: 10 กรกฎาคม 2565, 15:09:06
จุดเริ่มต้นสายธรรมอุตฺตโมบารมี

      พระไชยเชษฐาธิราชที่ 2 หรือ พระไชยองค์เว้ ประสูติ พ.ศ.2228 เป็นพระราชโอรสของเจ้าชมพู ที่ถูกเนรเทศไปอยู่เมืองเว้
พระองค์ได้ครองราชย์สมบัติ เมื่อ พ.ศ. 2245 ทรงตั้งให้เจ้าองค์ลอง พระอนุชาต่างบิดาเป็นอุปราชและไปครองเมืองหลวงพระบาง
และอัญเชิญพระบางมาประดิษฐานที่เวียงจันทน์
      ต่อมาใน พ.ศ. 2249 เจ้ากิ่งกิสราชซึ่งเป็นพระโอรสของเจ้าราชบุตร และเป็นหลานปู่ของพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช
ที่ลี้ภัยไปอยู่สิบสองปันนากับเครือญาติฝ่ายพระมารดา ได้ยกทัพลงมาตีเมืองหลวงพระบาง เจ้าลองสู้ไม่ได้ แตกพ่ายลงมาเวียงจันทน์
เจ้ากิ่งกิสราชยกทัพตามลงมาที่เวียงจันทน์ พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 2 จึงขอกองทัพจากกรุงศรีอยุธยามาช่วย
      สมเด็จพระเพทราชา กษัตริย์กรุงศรีอยุธยาในขณะนั้น ได้ยกทัพขึ้นมาและไกลเกลี่ยให้ทั้งสองฝ่ายประนีประนอมกัน
โดยให้แบ่งเขตแดนระหว่างหลวงพระบางกับเวียงจันทน์ ให้เจ้ากิ่งกิสราชครองหลวงพระบาง ให้พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 2 ครองเวียงจันทน์
ทั้งสองกษัตริย์ตกลงแบ่งเขตแดนกันโดยใช้แม่น้ำเหืองเป็นแดนทางฝั่งขวา ทางฝั่งซ้ายใช้เทือกเขาภูชนะคามเป็นเขตแดน
แคว้นสิบสองจุไทกับหัวพันห้าทั้งหกขึ้นกับหลวงพระบาง แคว้นเชียงขวางและแคว้นที่อยู่ใต้ลงมาให้ขึ้นกับเวียงจันทน์ การแบ่งเขตแดนนี้เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2250
      หลังจากสิ้นสุดสงครามกับพระเจ้ากิ่งกิสราช พระองค์ได้เร่งปรับปรุงการปกครองหัวเมือง ส่งคนที่ไว้ใจได้ไปปกครองเมืองที่สำคัญ
ทำให้กลุ่มของ องค์ที่ 1 พระครูยอดแก้วโพนสะเม็ก ต้องอพยพลงใต้ไปหาที่มั่นใหม่ ในที่สุดได้ไปตั้งมั่นที่เมืองจำปาศักดิ์ และแยกตัวเป็นอิสระจากเวียงจันทน์ใน พ.ศ. 2256 ในสมัยนี้ยังมีการบูรณปฎิสังขรณ์พระธาตุพนมศึกษาเล่าเรียน
จนกลายเป็นแหล่งเรียนรู้ในสมัยนั้นเรื่อยมาจนถึง พ.ศ.2280
      ต่อมา พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 2 ครองราชย์จนถึง พ.ศ. 2273 จึงสิ้นพระชนม์ จากนั้น เจ้าลองพระอนุชาได้ขึ้นครองราชย์สืบแทน
      องค์ที่ 2 เจ้าองค์ลอง (สวรรคตใน พ.ศ. 2283) เป็นเจ้าผู้ครองอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ ลำดับที่ 2 (พ.ศ. 2273 – 2283) พระราชโอรสในพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 2
      องค์ที่ 3 พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 3 หรือ พระเจ้าศิริบุญสาร เป็นเจ้าผู้ครองอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ ลำดับที่ 4 (พ.ศ. 2294 - พ.ศ. 2322) พระราชโอรสในเจ้าองค์ลอง, เสียเอกราชแก่สยามในปี พ.ศ. 2322
      องค์ที่ 4 พระเจ้านันทเสน เป็นเจ้าผู้ครองอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ ลำดับที่ 5 (พ.ศ. 2325 - พ.ศ. 2337) พระราชโอรสในพระเจ้าศิริบุญสาร
      องค์ที่ 5 พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ 4 หรือ พระเจ้าอินทวงศ์ เป็นเจ้าผู้ครองอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ ลำดับที่ 6 (พ.ศ. 2337 - พ.ศ. 2348) พระราชสมภพเมื่อใดไม่ปรากฏ และสวรรคตเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2348 ทรงเป็นพระราชอนุชาในพระเจ้านันทเสน, พระบรมอัยกาธิราชในสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี ในรัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
      ต่อมาพระธรรมราชาเจ้าเมืองศรีโคตรบูรณ์องค์สุดท้าย ได้ย้ายเมืองมาตั้งบนฝั่งขวา (ฝั่งไทย) เยื้องเมืองเก่าไปทางเหนือแล้วขนานนามเมืองใหม่ว่า เมืองนคร
จากนั้นมีการโยกย้ายชุมชนเมืองอีกหลายครั้ง พ.ศ.2321 ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ได้มีการย้ายเมืองมาตั้งที่บ้านหนองจันทร์
ห่างขึ้นไปทางเหนือ 52 กิโลเมตร ในปี พ.ศ. 2333 รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
เมืองนครก็ได้ขอขึ้นตรงต่อกรุงเทพมหานคร โดยพระองค์ทรงพระราชทานนามใหม่ขึ้นว่า นครพนม ชื่อนครพนมนั้น
      ต่อมา วัดพระธาตุพนม จึงได้มีเจ้าอาวาสนาม องค์ที่ 6 พระครูพรหมา (เจ้าอาวาสพระธาตุพนม องค์ที่ 4) ผู้เก็บรักษาตำราใบลานของเจ้าราชครูหลวงโพนสะเม็ก พ.ศ. 2335 – 2410
      หลังจากนั้น องค์ที่ 7 ปรมาจารย์ใหญ่ญาถ่านอุตตมะ ในราวปี 2335 (อุปัชญาย์สำเด็จลุน มีศักดิ์เป็นหลวงอา และเป็นผู้ก่อตั้งสายอุตฺตมะอุตฺตโม ปัจจุบันได้เปลี่ยนเป็น สายธรรมอุตฺตโมบารมี เริ่มไหว้ครูธรรมใหญ่ครั้งแรก ปี 2405) ท่านได้ธุดงค์เพื่อไปกราบพระธาตุพนม จากนั้นจึงเข้าไปกราบพระครูพรหมา เพื่อได้ขอศึกษาตำราใบลาน
      ต่อมาปรมาจารย์ใหญ่ญาถ่านอุตตมะ ได้ย้ายมาจากฝั่งขวาแม่น้ำโขง มาสร้างวัดสิงหาญ ราว พ.ศ.2345 โดยญาท่านอุตตะมะ (อุต) เป็นผู้ก่อตั้ง มีความเป็นมากล่าวคือ ญาถ่านอุตตะมะ ได้ย้ายมาจาก ฝั่งขวาแม่น้ำโขงไม่ทราบได้ว่าบ้านใหน ได้บวชเป็นพระและได้เดินทางมาบ้านสะพือ ชาวบ้านจึงได้นิมนต์ท่านให้อยู่จำพรรษที่บ้านสะพือ ญาถ่านอุต ท่านจึงได้บอกว่าถ้าจะให้จำพรรษอยู่ที่บ้านสะพือนี้ ก็จะเอาพ่อแม่มาด้วย ชาวบ้านจึงได้ตกลง ท่านจึงอพยพครอบครัวมา ตั้งถิ่นฐานอยู่ที่บ้านสะพือ ชาวบ้านได้จัดสรรที่ทำมาหากินให้มีไร่นาสวนพออยู่พอกิน ส่วนญาถ่านอุตนั้นได้ตั้งสำนักสงฆ์ ขึ้นอยู่ที่ป่าทางทิศให้ห่างจากหมู่บ้านประมาณ 1 กิโลเมตร ชื่อ "วัดศรีสุมัง"  ( ปัจจุบันได้ขุดเป็นสระน้ำสาธารณะ ชาวบ้านเรียก สระโนนวัด เพราะเคยเป็นวัดมาก่อน ) แต่ชาวบ้านเห็นว่าการนำภัตราหารเช้า,เพลไปถวายลำบาก เนื่องจากอยู่ไกลหมู่บ้าน จึงได้ย้ายวัดมาตั้งใหม่ที่ริมหมู่บ้านทางทิศใต้ (ที่ตั้งวัดในปัจจุบัน) ชาวบ้านได้ช่วยกันถากถาง สร้างกุฎิให้พระอยู่อาศัย ญาถ่านอุต จึงได้ย้ายมาจำพรรษาอยู่ที่นี่ ราว พ.ศ.2345 เรียกชื่อวัดนี้ว่า "วัดสิงหาญ" จนถึงปัจจุบัน
      หลังจากนั้นองค์ที่ 8 ปรมาจารย์ญาถ่านสำเร็จลุน อุปสมบทเป็นพระรุ่นราวคราวเดียวกันกับ “หลวงปู่สีดา” ซึ่งเป็นพระอุปัชฌาย์ของหลวงปู่โทน โดยมี “ปรมาจารย์ใหญ่ญาถ่านอุตตมะ” แห่งวัดสิงหาญ บ้านสะพือ ตำบลสะพือ อำเภอตระการพืชผล ซึ่งมีศักดิ์เป็น หลวงอาของปรมาจารย์ญาถ่านสำเร็จลุน ได้นำหลานชายชื่อ ลุน มาอุปสมบทและให้ศึกษาเล่าเรียนอักษรสมัย ทั้งอักษรขอมและอักษรธรรม พระธรรมวินัยการปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานควบคู่กันไป รวมทั้งหลวงปู่สีดาและลูกศิษย์อื่น ๆ ด้วย
      ปรมาจารย์ใหญ่ญาถ่านอุตตมะ ถือว่าเป็นพระปรมาจารย์ใหญ่รุ่นแรกในสมัยนั้น เชื่อถือกันว่าเป็นผู้เรืองฤทธิ์ มีตำรายา ตำราเวทมนต์ คาถาอาคม มีวัตรปฏิบัติที่น่าเคารพเลื่อมใสมาก ท่านปรมาจารย์ใหญ่ญาถ่านอุตตมะ เป็นผู้หนึ่งที่ได้รับการศึกษาตำราใบลาน จากพระครูพรหมา เจ้าอาวาสพระธาตุพนม องค์ที่ 4 ผู้เก็บรักษาตำราใบลานของเจ้าราชครูหลวงโพนสะเม็ก ซึ่ง “หลวงปู่โทน” ก็ได้สืบทอดสรรพวิชาเหล่านี้มาส่วนหนึ่ง ปรมาจารย์ใหญ่ญาถ่านอุตตมะสังเกตลูกศิษย์คนสำคัญทั้งสองว่ามีวัตรปฏิบัติแตกต่างกัน โดยที่หลวงปู่สีดามีความขยันขันแข็ง ช่วยกิจการงานวัดทุกอย่างมิได้ขาด
     ต่อมาศิษย์รุ่นแรกจะ เรียกว่า สายอุตฺตมะอุตฺตโม ความเป็นมาพิธีกรรมไหว้ครูธรรมใหญ่สายอุตฺตมะอุตฺตโม ในทุกปีจะมีการทำพิธีกรรมไหว้ผีไท้หรือผีเชื่อสาย พร้อมกับพิธีไหว้ครูธรรมใหญ่ที่ต้องจัดขึ้นทุกปี ญาถ่านสว่าง โพธิญาโณ เล่าว่า ญาถ่านสำเร็จตัน บอกกับท่านว่า พิธีกรรมไหว้ครูธรรมใหญ่เท่าที่ท่านจำได้ว่า น่าจะเริ่มมีการจัดในสมัยที่ปรมาจารย์ใหญ่ญาถ่านอุตตมะ ผู้เป็นอาจารย์ของสำเร็จลุน เจ้าอาวาส วัดสิงหาญ ต.สะพือ อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี พ.ศ.2345-2395 ก่อนท่านมรณะ 10 ปี ก็จะอยู่ในช่วงปี พ.ศ.2405 และเป็นช่วงของญาถ่าน(สำเร็จ)สีดา เจ้าอาวาส พ.ศ.2395-2450 เพราะญาถ่านสำเร็จตัน  จำได้ว่าตรงกับวันสำคัญ คือ วันพระราชสมภพ เจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 9 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ (เจ้าเจ็ดตน) ซึ่งเป็นองค์สุดท้ายแห่งนครเชียงใหม่ พ.ศ.2405 จะอยู่ในช่วงนี้ ดังนั้นการหาวันพิธีกรรมไหว้ครูธรรมใหญ่ปีนั้นจึงมีความง่ายมาก เพราะครูบาอาจารย์ได้ให้ลูกศิษย์ใช้ วันที่ขึ้น 3 ค่ำ เดือนสาม ของทุกปีจัดพิธีกรรมไหว้ครูธรรมใหญ่ จึงสามารถสรุปวันพิธีกรรมไหว้ครูธรรมใหญ่ ทั้งแรกคือ วัน อาทิตย์ ที่ 2 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2405 ขึ้น ๓ ค่ำเดือนสาม(๓) ปีระกา นับจากนั้นมาจึงเริ่มมีการทำพิธีไหว้ครูธรรมใหญ่อย่างเป็นทางการ
     ส่วนองค์ที่ 9 ญาถ่านสว่าง โพธิญาโณ ได้เล่าให้ลูกหลานฟังว่า สมัยนั้นท่านยังไม่ข้ามมาฝังไทย ยังธุดงปฏิบัติกรรมฐานตามป่าเขาในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เพื่อไปฝากตัวเล่าเรียนอาคมกับปรมาจารย์ญาถ่านสำเร็จลุน ราวปี พ.ศ.2443 จึงมีโอกาสได้เจอกับหลวงปู่จันทร์หอม สุภาทโร ผู้เป็นหลานของญาถ่านสำเร็จตัน  ต่อมาญาถ่านสว่าง โพธิญาโณ ก็ได้ฝากตัวเป็นศิษย์ปรมาจารย์ญาถ่านสำเร็จลุน หลังจากนั้นท่านจึงให้ญาถ่านสำเร็จตัน ทำหน้าที่เป็นพระพี่เลี้ยงดูแลการศึกษาตำรายา ตำราเวทมนต์ คาถาอาคม ต่างๆ ร่วมกับหลวงปู่จันทร์หอม สุภาทโร จนศึกษาจบทุกอย่าง ญาถ่านสว่าง โพธิญาโณจึงขอเดินทางออกธุดงไปยังที่ต่างๆ
     หลังจากนั้นปรมาจารย์ญาถ่านสำเร็จลุน ขณะจำพรรษาที่วัดเวินไซ บ้านเวินไซ เมืองโพนทอง แขวงนครจำปาศักดิ์ ประเทศลาว ได้อาพาธหนักแล้วได้มรณภาพในปี พ.ศ.2463 ต่อมาญาถ่านสำเร็จตัน จึงแจ้งข่าวงานศพปรมาจารย์ญาถ่านสำเร็จลุนไปยังญาถ่านสว่าง โพธิญาโณ ท่านก็ได้เดินทางมาร่วมงานจนเสร็จ ญาถ่านสำเร็จตัน จึงได้แบ่งเกษา อัฐิ บ้างส่วนให้ญาถ่านสว่าง โพธิญาโณติดตัว ต่อมาญาถ่านสว่าง โพธิญาโณได้เดินทางข้ามมาฝั่งประเทศไทยในปี พ.ศ.2513 มาอยู่ที่วัดสนามชัย ได้นำเอาตำราใบลานที่ได้รับการคัดลอกจากปรมาจารย์ญาถ่านสำเร็จลุน ข้ามมายังฝั่งไทยด้วย หลังจากนั้นไม่นานเกิดปัญหาภายในประเทศลาวเมื่อ พ.ศ.2518 พี่น้องทางประเทศลาวจึงข้ามมาฝังไทยเป็นจำนวนมาก
     ต่อมาเมื่อพี่น้องลูกศิษย์ที่เล่าเรียนสายอุตฺตมะอุตฺตโม รู้ข่าวว่าญาถ่านสว่าง โพธิญาโณ มาจำพรรษาอยู่อำเภอเขมราฐ ก็ต่างพากันกราบนมัสการ แล้วปรึกษาเรื่องการจัดงานไหว้ครูธรรมใหญ่ให้ต่อเนื่อง ต่อมาญาถ่านสว่าง โพธิญาโณ ท่านไม่ต้องการให้นำเอาชื่อ ปรมาจารย์ใหญ่ญาถ่านอุตตมะ มาเป็นชื่อเรียกใน สายอุตฺตมะอุตฺตโม จึงให้ตัดคำว่า อุตฺตมะ ออกจากคำเรียก ให้เปลี่ยนเป็นชื่อ สายธรรมอุตฺตโมบารมี ในราวปี พ.ศ.2529 นับจากนั้นมาจึงใช้ชื่อ สายธรรมอุตฺตโมบารมี ตลอดมา
     เมื่อญาถ่านสว่าง โพธิญาโณ เริ่มมีอาการป่วย จึงได้มอบตำราใบลานให้ฆราวาสครูธรรมใหญ่รินทอง สนธิหา ผู้สืบทอดรุ่นที่ 1 ได้ดูแลเก็บรักษาต่อไป ให้ศิษย์รุ่นต่อไปได้ศึกษาเล่าเรียนไม่ให้สูญหาย และมอบเกษา อัฐิ ปรมาจารย์ญาถ่านสำเร็จลุน ไว้ด้วย หลังจากนั้นคณะครูธรรมใหญ่จึงอันเชิญ ญาถ่านทา นาควัณโณ เป็นผู้สืบทอดรุ่นที่ 2 เมื่อญาถ่านทา นาควัณโณ ต่อมาฆราวาสครูธรรมใหญ่รินทอง สนธิหา ผู้สืบทอดรุ่นที่ 1 ได้ถึงแก่กรรม ทางคณะศิษย์จึงเชิญฆราวาสครูธรรมใหญ่ทองพลู กอมณี ขึ้นเป็นผู้สืบทอดรุ่นที่ 2 เมื่อครูธรรมใหญ่ทองพลู กอมณี  
      ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.2558 องค์ที่ 9 ญาถ่านทา นาควัณโณ เป็นผู้สืบทอดรุ่นที่ 2 และฆราวาสครูธรรมใหญ่ทองพลู กอมณี ผู้สืบทอดรุ่นที่ 2 เริ่มแก่ชราจึงได้มอบหมายให้ องค์ที่ 10 ญาถ่านเบิ้ม อุตฺตโม เป็นผู้สืบทอดเป็นรุ่นที่ 3 พร้อมฆราวาสครูธรรมใหญ่เวด สีจันทะวง ขึ้นเป็นผู้สืบทอดรุ่นที่ 3 จนถึงปัจจุบัน
  

25  ห้องพระ / พระคณาจารย์อริยสงฆ์ทั่วประเทศ / Re: ประวัติ พระอาจารย์สมศักดิ์ อุตฺตโม(ญาถ่านเบิ้ม)วัดวังม่วง อ.เขมราฐ จ.อุบลราชธานี เมื่อ: 09 กรกฎาคม 2565, 18:42:20
การสืบทอดจนกลายเป็นสายธรรมอุตฺตโมบารมี
1.องค์ต้นปรมาจารย์ใหญ่สมเด็จพระเจ้าสังฆราชาสัทธรรมโชตนาญาณวิเศษ (เจ้าราชครูหลวงโพนสะเม็ก) พ.ศ. 2174-2264
2.ปรมาจารย์ใหญ่พระครูพรหมา (เจ้าอาวาสพระธาตุพนม องค์ที่ 4) ผู้เก็บรักษาตำราใบลานของเจ้าราชครูหลวงโพนสะเม็ก พ.ศ. 2335 – ๒๔๑๐
3.ปรมาจารย์ใหญ่ญาถ่านอุตตมะ (อุปัชญาย์สำเด็จลุน มีศักดิ์เป็นหลวงอา และเป็นผู้ก่อตั้งสายอุตฺตมะอุตฺตโม ปัจจุบันได้เปลี่ยนเป็น สายธรรมอุตฺตโมบารมี เริ่มไหว้ครูธรรมใหญ่ครั้งแรก ปี 2405) ท่านได้ธุดงค์เพื่อไปกราบพระธาตุพนม จากนั้นจึงเข้าไปกราบพระครูพรหมา เพื่อได้ขอศึกษาตำราใบลาน พ.ศ. 2345-2395
4.ปรมาจารย์ญาถานสมเด็จลุน พระผู้ทรงอภิญญาแห่งประเทศลาว พ.ศ.๒๓๗๙ – ๒๔๖๓
5.บรมครูใหญ่ญาถ่านสว่าง โพธิญาโณ  ผู้สืบทอดรุ่นที่ 1 (ผู้รับมอบเกศา อัฐิ ตำราใบลานสำเร็จลุน จากญาถ่านสำเด็จตัน)พ.ศ.๒457-2553
6.บรมครูใหญ่ญาถ่านทา นาควัณโณ  ผู้สืบทอดรุ่นที่ 2 (ผู้สืบทอดจากญาถ่านตู๋ ผู้เป็นศิษย์ญาถ่านสว่าง โพธิญาโณ )พ.ศ. 2475 – ปัจจุบัน
7.บรมครูญาถ่านเบิ้ม อุตฺตโม ผู้สืบทอดรุ่นที่ 3 พ.ศ. 2510 – ปัจจุบัน
26  ห้องพระ / พระคณาจารย์อริยสงฆ์ทั่วประเทศ / Re: ประวัติ พระอาจารย์สมศักดิ์ อุตฺตโม(ญาถ่านเบิ้ม)วัดวังม่วง อ.เขมราฐ จ.อุบลราชธานี เมื่อ: 04 มิถุนายน 2565, 17:31:08
เศียรฤาษีพ่อปู่เจ้าสมิงพราย

ประวัติการจะสร้างโดยนำเอาผงไม้มณีโครต 70 % มาเป็นมวลสารหลักหายาก

ปีการจัดสร้าง 2561
วัตถุมงคลเพื่อแจกในงานไหว้ครูธรรม ปี 2561
จำนวนการจัดสร้าง
1.เศียรฤาษีพ่อปู่เจ้าสมิงพราย พิเศษ 9 เศียร
2.เศียรฤาษีพ่อปู่เจ้าสมิงพราย หลับเรียบ 108 เศียร

มวลสารหลักที่ใช้
1.ขี้เหล็กไหลจากถ้ำสกลนครนำมาบดเป็นผง
2.ผงมวลสารของหลวงปู่ทวด วัดช้างให้
3.กาฝากไม้มงคล 9 อย่าง 1.กาฝากรักซ้อน 2.กาฝากมะรุม 3.กาฝากมะยม 4.กาฝากมะขาม 5.กาฝากกาหลง 6.กาฝากขนุน 7.กาฝากยอ 8.กาฝากพยุง 9.กาฝากคูณ
4.ผงแก่มขามฟ้าผ่า
5.ผงแก้นงิ้วดำ ตัวผู้ ตัวเมียจากเขมร
6.ผงเงินเมืองผีบังบด
7.ผงช่องระอา
8.งาช้างจากเขมร
9.ผงกระดูกช้างจากบุรีรัมม์
10.วานสายเสน่ห์
11.วานสายเหนียว
12.เม็ดต้นมณีโคตร.จากฝั่งลาว บดเป็นผง
13.หอยพันปีจากบ้านสามแยกเมืองใหม่
14.ผงพระสมเด็จแท้จากวัดระฆัง
15.ผงกาลาตาเดียว
16.ผงวาน108
17.ผงพระลักษณ์ของหลวงกาหลง
18.คำหมากฤาษีที่ยุในหิน ญาถ่านท่านนั่งเห็นแล้วให้ลูกศิษย์ไปทุบเอา
19.ผงไม้มณีโครต

พ่อปู่ฤาษีเจ้าสมิงพรายในฐานะบรมครูด้านเสน่ห์ ด้านภูตพราย มาเจาะลึกประวัติของปู่จากวรรณคดี เรื่องพระลอพูดถึงการที่พระธิดาต้องการทำเสน่ห์พระลอแต่การจะทำเสน่ห์พวกเจ้าเมืองนั้นยากมากเพราะที่เมืองจะมีทั้งพระเสื้อเมือง เทวดาคุ้มเมือง และหมอยาเก่งๆในวังมากมาย พระธิดาจึงต้องหาหมอที่มือแน่ที่สุดในการทำเสน่ห์ ในที่สุดก็ใด้ปู่เจ้าสมิงพรายเป็นผู้ทำสำเร็จ

ปู่เจ้าสมิงพราย มีลักษณะดังนี้ ไม่ผอม ไม่อ้วน ไม่หนุ่ม ไม่แก่ คิ้วสวย ตาสวยปากสวยและมีชีวิตอยู่มาถึงกัลป์แล้ว แต่ลักษณะทุกอย่างของท่านล้วนแต่พอดีไปหมด คงจัดว่าเป็นชายงาม ขนาดพระธิดายังชื่นชมเลยเมื่อพระเพื่อนพระแพงเจอท่าน จะขอให้ท่านทำของให้แล้วจะให้แก้วแหวนเงินทอง วัวควาย ท่านไม่รับท่านบอกว่าเป็นระดับเทพแล้วจึงไม่ต้องการ ท่านรับไว้แต่หมากที่พระธิดานำไปถวาย

การทำเสน่ห์ของปู่  ในครั้งแรก ท่านเอาไม้เลี้ยง ไม้ไล่ ไม้ไผ่ มาไขว้เป็นลูกกลมๆคล้ายตะกร้อ เขียนรูปพระลออยู่ตรงกลาง เขียนรูปพระนางทั้ง2กอดคนละข้างและเขียนยันต์เป็นขอบ และกวักมือไปที่ยอดต้นยางใหญ่7คนโอบ ยอดต้นยางค้อมมาหาปู่ ท่านเอาลูกตะกร้อลงยันต์นั้นวางบนยอดยางและปล่อยให้ดีดออกไปตามลมถูกพระลอ หลังจากนั้นพระลอก็เพ้อคลั่งอยากไปหาพระเพื่อนพระแพง เสด็จพ่อเห็นท่าไม่ดี รู้ว่าลูกโดนของ จึงไปหาหมอหายาดีทั่วสารทิศมารักษา ในที่สุดครั้งแรกคณะแพทย์หลวง ก็สามารถแก้ใด้

เมื่อปู่เจ้าท่านรู้ดังนั้นก็เอาใหม่ คราวนี้เปลี่ยนเป็น เอาธงสามชายมา เขียนยันต์ลงไปมากกว่าเก่า แล้วใช้ต้นตะเคียนขนาด9คนโอบ โน้มลงมาแล้วดีด ธงสามชายนั่นไป ถูกพระลอเป็นครั้งที่สอง คราวนี้พระลอเพ้อคลั่งยิ่งกว่าครั้งเก่า หมอเก่งในเมืองต่างจนปัญญากัน จึงต้องไปเชิญหมอชื่อ ปู่หมอสิทธิไชย ซึ่งอาศัยอยู่ในป่าชานเมืองมารักษา ปู่หมอทำพิธีเชิญบารมีครูบาอาจารย์และเทพในเมืองมารักษา ในที่สุดก็ช่วยถอนใด้เป็นครั้งที่สอง

เมื่อปู่เจ้าเห็นดังนั้น ท่านจึงคิดจัดการให้แตกหัก  ท่านจึงเชิญเทวดาและผีพรายต่างๆมาเป็นกองทัพ เพื่อจะบุกเข้าไปสู้กับเทวดาที่รักษาเมืองสรอง  บรรดาเทพและพรายที่มาช่วยปู่เจ้าต่างขี่เสือ สิงห์ แรด และสัตว์ดุร้ายต่างๆมากมาย ตามความบทนี้

๑๔๔ ปู่รำพึงถึงเทพดา หากันมาแต่ป่า มาแต่ท่าแต่น้ำ มาแต่ถ้าคูหา ทุกทิศมานั่งเฝ้า พระปู่เจ้าทุกตำบล ตนบริพารทุกหมู่ ตรวจตราอยู่ทุกแห่ง ปู่แต่งพระพนัสบดี ศรีพรหมรักษ์ยักษกุมาร บริพารภูตปีศาจ ดาเดียรดาษมหิมา นายกคนแลคน ตนเทพผู้ห้าวท้าวผู้หาญ เรืองฤทธิ์ชาญเหลือหลาย ตั้งเป็นนายเป็นมุล ตัวขุนให้ขี่ช้าง บ้างขี่เสือขี่สีห์ บ้างขี่หมีขี่หมู บ้างขี่หมูขี่เงือก ขี่ม้าเผือกผันผาย บ้างขี่ความขี่แรด แผดร้องก้องน่ากลัว ภูตแปรตัวหลายหลาก แปรเป็นกากภาษา เป็นหัวกาหัวแร้ง แสร้งเป็นหัวเสือหัวช้าง เป็นหัวกวางหัวฉมัน ตัวต่างกันพันลึก ละคึกกุมอาวุธ เครื่องจะยุทธ์ยงยิ่ง เต้นโลดวิ่งระเบง คุกเครงเสียงคะครื้น ฟื้นไม้ไหล้หินผา ดาดผาดเผ้ง ระเร้งร้องก้องกู่เกรียง เสียงสะเทือนธรณี เทียบพลผีเสร็จสรรพ ปู่ก็บังคับทุกประการ จึ่งบอกสารอันจะใช้ ให้ทั้งยามนตร์ดล บอกทั้งกลอันจะทำ ให้ยายำเขาเผือด มนตราเหือดหายศักดิ์ ให้อารักษ์เขาหนี ผีเขาแพ้แล้วไซร้ กูจึ่งจะใช้สลาเหิร เดิรเวหาไปสู่ เชิญพระภูธรท้าว ชักมาสู่สองหย้าว อย่าคล้าคำกู สั่งนี้ ฯ

ในที่สุดกองทัพของปู่ก็บุกไปสู้กับกองทัพของพระเสื้อเมืองสรอง และเอาชนะพระเสื้อเมืองใด้ ผีป่าต่างบรรดาลให้เกิดอาเพศทั่วเมืองสรวง ฟ้าผ่า ฟ้าเหลือง เกิดเมฆหมอก  ปู่หมอสิทธิไชยเห็นดังนั้นก็ถอดใจทันที ทูลพระราชาไปตามตรงว่าไม่สามารถสู้กับปู่เจ้าใด้เลยหยูกยาทั้งหลายก็ถูกบริวารปู่เจ้าถอนเสื่อมไปหมด หลักจากที่ใด้ชัยชนะทางผีแล้ว ปู่เจ้าท่านก็เสกหมากเป็นแมลงภู่บินเข้าไปในวังตกลงในเชี่ยนหมาก(วิชานี้ในเรื่องเรียกสลาเหินครับ) พระลอเสวยหมากคำนั้นเข้าไปก็ใด้เรื่อง เกิดอาการคุ้มคลั่งจะออกป่าให้ใด้ แม้แต่ หมอสิทธิไชยก็ไม่สามารถช่วยใด้แล้ว เพราะเทวดาประจำเมืองหนีไปหมดแล้ว ในที่สุดพระบิดามาร ห้ามไม่ไหว และในที่สุดพระลอก็ออกป่าไป ในที่สุด  นี่แหละครับเป็นเรื่องส่วนหนึ่งของปู่เจ้าสมิงพรายจากเรื่องพระลอท่านจึงถือเป็นบรมครูด้านเสน่ห์และภูตพราย ขอบารมีของท่านปกป้องทุกท่านครับ
27  ห้องพระ / พระคณาจารย์อริยสงฆ์ทั่วประเทศ / Re: ประวัติ พระอาจารย์สมศักดิ์ อุตฺตโม(ญาถ่านเบิ้ม)วัดวังม่วง อ.เขมราฐ จ.อุบลราชธานี เมื่อ: 04 พฤษภาคม 2565, 09:55:45
เศียรบรมครูพ่อปู่ฤาษี 108 รุ่นแรก ยุคต้น ปี2553
ญาถานเบิ้ม อุตฺตโม บรมครูใหญ่สายธรรมอุตฺตโมบารมี

ประวัติการจัดสร้าง
เศียรบรมครูพ่อปู่ฤๅษี 108 ถือได้ว่าเป็นเศียรรุ่นแรกจริงๆ ในยุคต้น สร้างเมื่อปี 2553 โดยมีการจัดสร้างอยู่ 2 เนื้อ คือ เนื้อดินดำ และเนื้อดินแดง สร้างจำนวนไม่มาก วัตถุประสงค์คือสร้างแจกลูกศิษย์ที่มาช่วยงานในวัด นำไปติดตัว และทุกองค์ท่านได้สร้างด้วยการปั้มกดมือทีละองค์ ตามพิธีกรรมโบราณ มีจำนวนการจัดสร้างดังนี้
1.   เศียรบรมครูพ่อปู่ฤๅษี 108 เนื้อดินดำ      สร้างจำนวน    30    เศียร
2.   เศียรบรมครูพ่อปู่ฤๅษี 108 เนื้อดินแดง      สร้างจำนวน    29    เศียร
รวมทั้งหมด 59 เศียร

มวลสารหลักๆที่ใช้จัดสร้าง
        1.ดินกากยายักษ์ เชื่อกันว่า เป็นดินวิเศษ มีสีดำสนิท โดยเชื่อกันว่าดินกากยายักษ์นี้มีจิตวิญญาณของพวกยักษ์ อสูร ที่เป็นฝ่ายสัมมาทิฐิดูแลรักษาอยู่ อานุภาพของว่านดินกากยายักษ์นั้นดีทางแคล้วคลาด คงกระพันชาตรี โชคลาภ ป้องกันคุณไสย์มนต์ดำ กำเนิดธาตุมาคล้ายกับสายแร่ธาตุดิน นำมาเป็นมวลสารหลักที่ใส่เศียรบรมครูพ่อปู่ฤๅษี 108 เนื้อดินแดง สร้างจำนวน 30 เศียร
       2.ดินโป่งแดงจากอินเดียใต้โคนต้นพระศรีมหาโพธิ์ วัดพุทธคยา(ท่านได้จากสหธรรมมิกท่านประมาณหนึ่งกำมือ) นำมาเป็นมวลสารหลักที่ใส่เศียรบรมครูพ่อปู่ฤๅษี 108 เนื้อดินแดง สร้างจำนวน 29 เศียร
   3.ขี้เหล็กไหลจากถ้ำสกลนครนำมาบดเป็นผง
        4.ผงมวลสารของหลวงปู่ทวด วัดช้างให้
        5.กาฝากไม้มงคล 9 อย่าง 1.กาฝากรักซ้อน 2.กาฝากมะรุม 3.กาฝากมะยม 4.กาฝากมะขาม 5.กาฝากกาหลง 6.กาฝากขนุน 7.กาฝากยอ 8.กาฝากพยุง 9.กาฝากคูณ
        6.ผงแก่มขามฟ้าผ่า
        7.ผงแก้นงิ้วดำ ตัวผู้ ตัวเมียจากเขมร
        8.ผงเงินเมืองผีบังบด
        9.ผงช่องระอา
       10.งาช้างจากเขมร
       11.ผงกระดูกช้างจากบุรีรัมม์
       12.วานสายเสน่ห์
       13.วานสายเหนียว
       14.เม็ดต้นมณีโคตร.จากฝั่งลาว บดเป็นผง
       15.หอยพันปีจากบ้านสามแยกเมืองใหม่
       16.ผงพระสมเด็จแท้จากวัดระฆัง
       17.ผงกาลาตาเดียว
       18.ผงวาน108
       19.ผงพระลักษณ์ของหลวงกาหลง
       20.คำหมากฤาษีที่ยุในหิน ญาถ่านท่านนั่งเห็นแล้วให้ลูกศิษย์ไปทุบเอา      

ประวัติความเป็นมา
        พ่อแก่ หรือพระฤาษี ถือเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่คนในแวดวงศิลปะแขนงต่างๆ ล้วนนิยมเคารพนับถือบูชา ถือกันว่าเป็นครูผู้ประสิทธิ์ประสาทวิชาต่างๆ ทั้งมวลแก่มนุษยชาติความเป็นมาของพ่อแก่ บางครั้งก็เรียกกันว่า ครูฤาษี หรือ"ตฺริกาลชฺญ" แปลว่า ผู้รู้กาลทั้งสาม ตามตำนานกล่าวไว้ว่า พระฤาษีมีอยู่ด้วยกันทั้งหมด 108 องค์ ปางเสมอเถรถือว่าเป็นปางที่มีฤทธิ์มากที่สุด บางตำราก็ว่าท่านมีนามว่า "พระฤษีนารท" บางตำราก็ว่าท่านมีนามว่า “พระปรคนธรรพ” ประวัติความเป็นมาทั้ง ในคัมภีร์ทางคติฮินดู ในตำราอินเดีย และตำรานาฏศิลป์ของไทยเรา ส่วนใหญ่ล้วนกล่าวตรงกันว่าท่านเป็น “บรมครู” แห่งนาฏศิลป์ และดุริยางค์ศิลป์ ผู้ที่จะบรรเลงดนตรี หรือรำฟ้อนล้วนต้องไหว้ครู หรือครอบครูมาก่อน และ “ครู” หรือที่พวกศิลปินเรียกขานว่า “พ่อแก่” นั้นก็คือพระฤษีนารท นี่เอง เชื่อถือกันว่า พระฤาษีนารอด เป็นครูของฤาษีทั้งปวง ทรงกำเนิดจากเศียรที่ ๕ ของพระพรมธาดา ทรงเพศเป็นฤาษี พระฤาษีนารอดถือว่าเป็นฤาษีองค์แรกของไตรภูมิ ไม่ว่าจะมีการบูชาสิ่งใด หากไม่มีการเชิญท่านแล้ว พิธีกรรมนั้นจะถือว่าไม่สมบูรณ์
       คนเราจะสามารถบุชาเศียรพ่อแก่ได้หรือไม่ เนื่องด้วยตำราทางโหราศาสตร์ และตำราทางเทววิทยา กล่าวไว้สอดคล้องกันว่า พระพฤหัสบดีถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้เป็นอาจารย์แห่งสรรพวิชาความรู้ทั้งมวล มีผู้กล่าวขานกันว่า " พ่อแก่หรือปู่ฤาษี ท่านจะเป็นผู้เลือกเจ้าของ " เมื่อถึงกาลเวลาอันควร บุญวาสนาปรากฏ จะนำพาท่านที่มีใจปรารถนาครอบครอง หัวโขนพ่อแก่หรือปู่ฤาษี...ท่านจะประสิทธิ์พรแก่ผู้บูชา ได้ครอบครอง บูชาหัวโขนหรือเศียรพ่อแก่หรือปู่ฤาษี อย่างแน่นอน

ตั้งนะโม ๓ จบ

     โอม ฦ ฦา ฤ ฤา นะมะ พะทะ จะภะ ทะสะ นะโม พุทธายะ

คาถาบูชาเศียรพ่อแก่หรือพ่อปู่

      อุกาสะ อิมัง อัคคีพาหูบุพผัง อะหังวันทา อาจาริยัง สัพพะสัยยัง วินาสสันติ สิทธิการิยะ อะปะระปะชา อิมัสมิง ภะวันตุเม
ทุติยัมปิ อิมัง อัคคีพาหูบุพผัง อะหังวันทา อาจาริยัง สัพพะสัยยังวินาสสันติ สิทธิการิยะ อะปะระปะชา อิมัสมิง ภะวันตุเม
ตะติยัมปิ อิมัง อัคคีพาหูบุพผัง อะหังวันทาอาจาริยัง สัพพะสัยยัง วินาสสันติ สิทธิการิยะ อะปะระปะชาอิมัสมิง ภะวันตุเม

      เมื่อท่านได้ทำการบูชาเศียรพ่อแก่มาแล้วมีหลักปฏิบัติดังนี้
การบูชาในครั้งแรก (อัญเชิญพ่อแก่หรือปู่ฤาษี)
      ๑. ควรเริ่มบูชาในวันพฤหัสบดี (วันครู) สำหรับบุคคลธรรมดาทำเหมือนไหว้พระทุกอย่างแต่ต่างกันตรงที่ ใช้ธูป ๙ ดอก แต่สำหรับผู้มีองค์เทพสายญาณต่างๆ ครูพระฤาษีท่านว่าดังนี้ กำหนดครั้งแรก ธูป ๓๖ ดอก ครั้งต่อไป ๑๖ ดอกครับ สำคัญที่สุด คือ จิตที่มีศรัทธา เชื่อมั่น ไม่สงสัย ในพ่อแก่หรือปู่ฤาษี
 
***หากท่านมีใจอยากจะถวายของไหว้ พ่อแก่หรือปู่ฤาษี มีดังนี้
พวงมาลัย ๑ พวง หรือดอกไม้ ๑ กำ หมากพลู ๕ คำ บุหรี่ ๕ มวน กล้วย ๑ หวี น้ำร้อน น้ำชา กาแฟ หรือผลไม้ตามฤดูกาล สำหรับอาหารคาวหวานต่างๆ ตามสมควรไม่เจาะจง
สำหรับบางท่านเป็นพิธีใหญ่ เงินกำนัลครู ขั้นต่ำ 6 บาท 12บาท หรือ19 บาท นี่คือเงินกำนัลครูเทพครูปู่ฤาษี สำหรับใส่ลงในพานครูรวมในพิธีไหว้ครู บายศรีปากชาม หนึ่งคู่ครับ เงินส่วนนี้ไม่เกี่ยวกับเงินช่วยงานเจ้าภาพครับ อาจมีการจัดเครื่องกระยาบวชทั้งห้าไว้ด้วยดังนี้คือ
๑.กล้วยบวชชี ๒.ฟักทองแกงบวช ๓.เผือกแกงบวช ๔.มันแกงบวช ๕.ขนมบัวลอย เป็นต้น

คนวันทั้งเจ็ดเหมาะกับการบูชาพ่อแก่องค์ต่างๆดังนี้
1.1คนวันอาทิตย์บูชาปู่ฤาษีตาไฟ จะช่วยเสริมยศและฐานะให้รุ่งเรื่อง
1.2 คนวันจันทร์บูชาปู่ฤาษีนารอด จะช่วยเสริม เสน่ห์เมตตาให้คนรักใคร่
1.3 คนวันอังคารบูชาปู่ฤาษีพระนารายณ์ จะช่วยเสริม อำนาสวาสนา
1.4 คนวันพุธบูชาปู่ฤาษีพระพิคเณศ จะช่วยเสริม ความคิดและสติปัญญา ในการทำมาหากิน
1.5 คนวันพฤหัสบดีบูชาปู่ฤาษีประไลยโกติ จะช่วยเสริม ตะบะบารมีให้ศัตรูเกรงกลัว
1.6 คนวันศุกร์บูชาปู่ฤาษีพรหมมา จะช่วยเสริม ทรัพย์และเสน่ห์ ให้มีมากมาย
1.7 คนวันเสาร์บูชาปู่ฤาษีสิงห์ดาบถ จะช่วยเสริม ตะบะบารมีให้ศัตรูเกรงกลัว
1.8 คนวันพุธกลางคืนบูชาปู่ฤาษีเพชรฉลูกัน ทรัพย์และเสน่ห์ ให้มีมากมาย

28  ห้องพระ / พระคณาจารย์อริยสงฆ์ทั่วประเทศ / Re: ประวัติ พระอาจารย์สมศักดิ์ อุตฺตโม(ญาถ่านเบิ้ม)วัดวังม่วง อ.เขมราฐ จ.อุบลราชธานี เมื่อ: 27 เมษายน 2565, 12:04:29
ล็อกเก็ต ท้าวเวสสุวรรณ รุ่นแรก
จัดสร้างโดย สายธรรมอุตฺตโมบารมี
จำนวน 108 เหรียญ

ขนาด 3.2 เซนติเมตร

*ตะกรุดทองคำ 9 ดอก จำนวน 19 เหรียญ
*ตะกรุดทองคำ 3 ดอก จำนวน 19 เหรียญ
*ตะกรุดทองคำ 1 ดอก จำนวน 19 เหรียญ
*ตะกรุดเงินแท้ 1 ดอก จำนวน 51 เหรียญ

แผ่นทองท้าวเวสสุวรรณ
ตอกโค๊ตญาถ่านเบิ้มและโค๊ตตราสายธรรมอุตฺตโมบารมี
จำนวน 108 แผ่น

ตามตำนานพุทธศาสนา ท้าวเวสสุวรรณ ในอดีตชาติเป็นพราหมณ์ใจบุญ เปิดโรงงานหีบอ้อยจนร่ำรวย มักบริจาคเงินทองให้ผู้ยากไร้

ด้วยบุญกุศลที่ทำมาพระพรหมและพระอิศวรจึงให้พรเป็นอมตะ เป็นเจ้าของทรัพย์สมบัติทั่วปฐพี เป็นเทพแห่งความร่ำรวย ผู้คนจึงนิยมกราบไหว้บูชาท่าน

อีกตำนานหนึ่งเชื่อว่า ท่านเป็นกษัตริย์กรุงราชคฤห์ นามว่า “พระเจ้าพิมพิสาร” เป็นพระสหายของเจ้าชายสิทธัตถะ ต่อมาเจ้าชายสิทธัตถะตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า

ก็มาโปรดพระเจ้าพิมพิสารจนบรรลุเป็นโสดาบัน ได้ถวายพระเวฬุวันมหาวิหารให้พระพุทธเจ้าเข้าประทับ เป็นอานิสงส์ให้ได้วิมานอันสวยงาม รวมถึงทรัพย์สมบัติมากมาย

คนโบราณมีความเชื่อกันว่า ผู้ใดห้อยบูชาท้าวเวสสุวรรณ จะบังเกิดโชคลาภมากมาย ร่ำรวยเงินทอง มีกินมีใช้ไม่ขาดแก้ปีชง เสริมปีชง เทพแห่งปีชง ป้องกันภัยจากสิ่งที่มองเห็นและมองไม่เห็น ป้องกันภูติ ผีวิญญาณต่างๆไม่กล้ามาทำอันตรายใดๆให้กับคนในครอบครัว ในร้านนั้นๆ เพราะภูติผีปีศาจ ยักษ์ เป็นบริวารท้าวเวสสุวรรณ คนมีลูกเพิ่งคลอด หรือมีเด็กเล็ก มักนิยมบูชาท้าวเวสสุวรรณ ตั้งไว้ตรงที่เด็กนอนหลับ เพราะมีความเชื่อว่าภูติผีปีศาจจะไม่กล้ามารบกวนเด็ก เพราะท้าวเวสสุวรรณเป็นผู้ปกครองแห่งภูติผีปีศาจนั่นเอง จึงแนะนำคนที่มีลูกอ่อน ลูกเล็ก หากชอบร้องไห้ตอนกลางคืน ไม่หลับไม่นอนเหมือนมีอะไรมารบกวนเด็ก และยังสามารถกันภูติผีปีศาจคุณไสย์มนต์ดำได้หมด

การบูชา ท้าวเวสสุวรรณ
วิธีบูชาท้าวเวสสุวรรณ ให้ทำในวันขึ้น 15 ค่ำ โดยจุดธูป 9 ดอก ดอกกุหลาบแดง 9 ดอก ตั้งนะโม 3 จบ ระลึกถึงคุณบิดา มารดา ครูบาอาจารย์ แล้วภาวนาคาถาบูชาท้าวเวสสุวรรณ

คาถาบูชาท้าวเวสสุวรรณ
อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตาภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ

หากมีปัญหาเรื่องการเงิน การงาน โชคลาภ สามารถบนบานศาลกล่าวกับท้าวเวสสุวรรณได้เองที่บ้าน ถ้ามีผ้ายันต์ หรือองค์ลอย

ด้วยการอาบน้ำ แต่งกายให้สะอาดสุภาพ สมาทานศีล 5 สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัย พาหุง ชินบัญชร จุดธูป 9 ดอก พวงมาลัยดาวเรืองหรือดอกกุหลาบ 1 พวง ตั้งนะโม 3 จบ สวดคาถาบูชาท้าวเวสสุวรรณ 9 จบ

ข้อห้ามในการบูชาท้าวเวสสุวรรณ
1. ห้ามประพฤติตนไม่ดี ผิดศีล 5 จะทำให้การบูชาไม่ได้ผล

2. ไม่เป็นผู้ทำลายศาสนา ทั้งทางตรงทางอ้อม หรือยุยงให้สิ้นศรัทธาต่อศาสนา

3. ไม่ประกอบอาชีพ ไม่มีความสุจริต ฉ้อโกง เอาเปรียบผู้อื่น

4. ไม่เป็นคนเห็นแก่ตัว ไม่มีน้ำใจ  รู้จักให้ทาน
29  ห้องพระ / พระคณาจารย์อริยสงฆ์ทั่วประเทศ / Re: ประวัติ พระอาจารย์สมศักดิ์ อุตฺตโม(ญาถ่านเบิ้ม)วัดวังม่วง อ.เขมราฐ จ.อุบลราชธานี เมื่อ: 11 เมษายน 2565, 15:53:06
มีดหมอ รุ่นแรก
ญาถานเบิ้ม อุตฺตโม บรมครูใหญ่สายธรรมอุตฺตโมบารมี
ผู้สืบทอด รุ่นที่ 3 ศิษย์แห่งปรมาจารย์ใหญ่หลวงปู่สำเร็จลุน
จำนวนการจัดสร้าง
1.มีดหมอ 12 นิ้ว มีฐาน 1 เล่ม 300,000 บาท
2.มีดหมอ 9 นิ้ว มีฐาน 8 เล่ม 100,000 บาท
3.มีดหมอ 5 นิ้ว มีฐาน 12 เล่ม
(กรณีจองใบเสมา 8 ใบใบละ 30,000 บาท
ใบปักเขต 4 ใบใบละ 10,000 บาท)
4.มีดหมอ 5 นิ้ว มีปลอก...ไม่มีฐาน 100 เล่ม 3,000 บาท
    วัถตุประสงค์การจัดสร้าง เพื่อใช้ในงานตัดหวานลูกนิมิตโบสถ์วัดวังม่วง ต.หนองสิม อ.เขมราฐ จ.อุบลราชธานี
    จุดประเด็นหลักคือสร้างให้ครูธรรมใช้ติดตัวประกอบพิธีกรรมอาคมต่างๆ เลยถือเอางานฉลองพระอุโบสถ์จัดสร้างมีดหมออาคม ในการปลุกเสกมีดหมอ รุ่กแรก จัดนิมนต์พระสงฆ์ จำนวน 100 รูป ปลุกเสก เป็นเวลา 3 คืน
มวลสารหลักในมีดหมออาคม มีดังนี้
1.ตะปู สังฆวานรใช้ตอกโบสถ์,วิหาร,พระธาตุเจดีย์
2.เหล็กน้ำพี้  
3.ยอดพระเสด็จฟ้าผ่า
4.ตะปูจากกองถ่านศพปรมาจารย์ใหญ่ต่างๆ
5.เหล็กฝาบาตรโบราณ
6.เหล็กช่อฟ้าอุโบสถ
7.แร่เหล็กในถ้ำต่างๆ
8.อุดมวลสารศักดิ์สิทธิ์ในด้ามมีด
30  ห้องพระ / พระคณาจารย์อริยสงฆ์ทั่วประเทศ / Re: ประวัติ พระอาจารย์สมศักดิ์ อุตฺตโม(ญาถ่านเบิ้ม)วัดวังม่วง อ.เขมราฐ จ.อุบลราชธานี เมื่อ: 11 เมษายน 2565, 14:46:05
ล็อกเก็ต ท้าวเวสสุวรรณ รุ่กแรก

จัดสร้างโดย สายธรรมอุตฺตโมบารมี
จำนวน 108 เหรียญ
ขนาด 3.2 เซนติเมตร
*ตะกรุดทองคำ 9 ดอก จำนวน 19 เหรียญ
*ตะกรุดทองคำ 3 ดอก จำนวน 19 เหรียญ
*ตะกรุดทองคำ 1 ดอก จำนวน 19 เหรียญ
*ตะกรุดเงินแท้ 1 ดอก จำนวน 51 เหรียญ

วัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมสร้างห้องกายภาพบำบัด ให้แล้วเสร็จ ที่ยังขาดการซ่อมแซมอีกมาก

      ตามตำนานพุทธศาสนา ท้าวเวสสุวรรณ ในอดีตชาติเป็นพราหมณ์ใจบุญ เปิดโรงงานหีบอ้อยจนร่ำรวย มักบริจาคเงินทองให้ผู้ยากไร้
ด้วยบุญกุศลที่ทำมาพระพรหมและพระอิศวรจึงให้พรเป็นอมตะ เป็นเจ้าของทรัพย์สมบัติทั่วปฐพี เป็นเทพแห่งความร่ำรวย ผู้คนจึงนิยมกราบไหว้บูชาท่าน
อีกตำนานหนึ่งเชื่อว่า ท่านเป็นกษัตริย์กรุงราชคฤห์ นามว่า “พระเจ้าพิมพิสาร” เป็นพระสหายของเจ้าชายสิทธัตถะ ต่อมาเจ้าชายสิทธัตถะตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า
ก็มาโปรดพระเจ้าพิมพิสารจนบรรลุเป็นโสดาบัน ได้ถวายพระเวฬุวันมหาวิหารให้พระพุทธเจ้าเข้าประทับ เป็นอานิสงส์ให้ได้วิมานอันสวยงาม รวมถึงทรัพย์สมบัติมากมาย
คนโบราณมีความเชื่อกันว่า ผู้ใดห้อยบูชาท้าวเวสสุวรรณ จะบังเกิดโชคลาภมากมาย ร่ำรวยเงินทอง มีกินมีใช้ไม่ขาดแก้ปีชง เสริมปีชง เทพแห่งปีชง ป้องกันภัยจากสิ่งที่มองเห็นและมองไม่เห็น ป้องกันภูติ ผีวิญญาณต่างๆไม่กล้ามาทำอันตรายใดๆให้กับคนในครอบครัว ในร้านนั้นๆ เพราะภูติผีปีศาจ ยักษ์ เป็นบริวารท้าวเวสสุวรรณ คนมีลูกเพิ่งคลอด หรือมีเด็กเล็ก มักนิยมบูชาท้าวเวสสุวรรณ ตั้งไว้ตรงที่เด็กนอนหลับ เพราะมีความเชื่อว่าภูติผีปีศาจจะไม่กล้ามารบกวนเด็ก เพราะท้าวเวสสุวรรณเป็นผู้ปกครองแห่งภูติผีปีศาจนั่นเอง จึงแนะนำคนที่มีลูกอ่อน ลูกเล็ก หากชอบร้องไห้ตอนกลางคืน ไม่หลับไม่นอนเหมือนมีอะไรมารบกวนเด็ก และยังสามารถกันภูติผีปีศาจคุณไสย์มนต์ดำได้หมด

    วิธีบูชาท้าวเวสสุวรรณ ให้ทำในวันขึ้น 15 ค่ำ โดยจุดธูป 9 ดอก ดอกกุหลาบแดง 9 ดอก ตั้งนะโม 3 จบ ระลึกถึงคุณบิดา มารดา ครูบาอาจารย์ แล้วภาวนาคาถาบูชาท้าวเวสสุวรรณ

    คาถาบูชาท้าวเวสสุวรรณ
         อิติปิโส ภะคะวา ยมมะราชาโน ท้าวเวสสุวรรณโณ มะระณัง สุขัง อะหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ ท้าวเวสสุวรรณโณ จาตุมะหาราชิกา ยักขะพันตาภัทภูริโต เวสสะ พุสะ พุทธัง อะระหัง พุทโธ ท้าวเวสสุวรรณโณ นะโม พุทธายะ

หากมีปัญหาเรื่องการเงิน การงาน โชคลาภ สามารถบนบานศาลกล่าวกับท้าวเวสสุวรรณได้เองที่บ้าน ถ้ามีผ้ายันต์ หรือองค์ลอย
ด้วยการอาบน้ำ แต่งกายให้สะอาดสุภาพ สมาทานศีล 5 สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัย พาหุง ชินบัญชร จุดธูป 9 ดอก พวงมาลัยดาวเรืองหรือดอกกุหลาบ 1 พวง ตั้งนะโม 3 จบ สวดคาถาบูชาท้าวเวสสุวรรณ 9 จบ

    ข้อห้ามในการบูชาท้าวเวสสุวรรณ
1. ห้ามประพฤติตนไม่ดี ผิดศีล 5 จะทำให้การบูชาไม่ได้ผล
2. ไม่เป็นผู้ทำลายศาสนา ทั้งทางตรงทางอ้อม หรือยุยงให้สิ้นศรัทธาต่อศาสนา
3. ไม่ประกอบอาชีพ ไม่มีความสุจริต ฉ้อโกง เอาเปรียบผู้อื่น
4. ไม่เป็นคนเห็นแก่ตัว ไม่มีน้ำใจ  รู้จักให้ทาน
หน้า: 1 [2] 3 4 ... 14
Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.19 | SMF © 2006-2009, Simple Machines Valid XHTML 1.0! Valid CSS!